Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9333
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง | th_TH |
dc.contributor.author | วรรณา ภู่เสม, 2509- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-01T00:45:35Z | - |
dc.date.available | 2023-09-01T00:45:35Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9333 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ได้รับผลกระทบจากโรคเรื้อนก่อนและหลังการเข้าร่วมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง และ (2) เปรียบเทียบผลของการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางของผู้ได้รับผลกระทบจากโรคเรื้อน หลังทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากโรคเรื้อนที่อาศัยอยู่ในนิคมบ้านกร่าง อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ที่ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .76 และโปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผู้ได้รับผลกระทบจากโรคเรื้อนที่เข้าร่วมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง หลังการทดลอง มีการเห็นคุณค่าในตนเองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างหลังการทดลอง กับระยะติดตามผลพบว่า ค่าคะแนนการเห็นคุณค่าในตนเองไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.149 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา-- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | จิตบำบัดแบบผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง--ไทย--พิษณุโลก | th_TH |
dc.subject | จิตบำบัด | th_TH |
dc.subject | โรคเรื้อน--ไทย | th_TH |
dc.title | ผลการปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลางเพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ได้รับผลกระทบจากโรคเรื้อน นิคมบ้านกร่าง จังหวัดพิษณุโลก | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of group counseling based on the client-centered theory to improve self-esteem of persons affected by leprosy in Ban Krang Leprosy Colony, Phitsanulok Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to compare the levels of self-esteem of persons affected by leprosy before and after receiving group counseling based on the client-centered theory; and (2) to compare the effects of group counseling based on the client-centered theory at the end of the experiment and during the follow-up period. The research sample consisted of 15 persons affected by leprosy who lived in Ban Krang Leprosy Colony, Mueang district, Phitsanulok province, obtained by simple random sampling. The employed research instruments comprised a self-esteem assessment scale, with reliability coefficient of .76, and a group counseling program based on the client-centered theory. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) after receiving group counseling based on the client-centered theory, the persons affected by leprosy significantly increased their level of self-esteem at the .01 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between their self-esteem levels at the end of the experiment and during the follow-up period. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
155391.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License