Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอำเภอ อัษฎาวุธ, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T01:12:04Z-
dc.date.available2023-09-01T01:12:04Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9335-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลวิชัยยุทธ ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการรู้ของสมองทั้งหมดของเพอร์ล่า เอ็ม ไทย์โก และสุนทรียสาธก (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่เวชศาสตร์ฟื้นฟู หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว จำแนกตามเพศ อายุ อายุการทำงาน วุฒิการศึกษา อัตรารายได้ต่อเดือน และสถานภาพการสมรส และ (3) ศึกษาระดับความพึงพอใจ และข้อเสนอแนะที่มีต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่มตัวอย่างเป็นเจ้าหน้าที่เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลวิชัยยุทธ จำนวน 20 คน ได้มาโดยการสุ่มเข้ากลุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ และความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบวัดความผูกพันต่อองค์กร มีความเที่ยงเท่ากับ .94 (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการรู้ของสมองทั้งหมดของเพอร์ล่า เอ็ม ไทย์โก และสุนทรียสาธก จำนวน 12 กิจกรรม และ (3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่เวชศาสตร์ฟื้นฟู หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการรู้ของสมองทั้งหมดของเพอร์ล่า เอ็ม ไทย์โก และสุนทรียสาธก มีระดับคะแนนมากกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 (2) ความผูกพันต่อองค์กรหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวของเจ้าหน้าที่ เมื่อจำแนกตามเพศ อายุ อายุการทำงาน วุฒิการศึกษา อัตรารายได้ต่อเดือน และสถานภาพการสมรสที่แตกต่างกัน พบว่า มีระดับความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และ (3) ระดับความพึงพอใจโดยภาพรวมที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่ได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรอาศัยเทคโนโลยีในการทำกิจกรรมเพื่อง่าย และสะดวกต่อการทำกิจกรรม รวมทั้งการสื่อสารโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ และมีเนื้อหาที่ทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.24en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลวิชัยยุทธ -- พนักงานth_TH
dc.subjectความภักดีของลูกจ้างth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ -- ไทยth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการรู้ของสมองทั้งหมดของเพอร์ล่า เอ็ม ไทย์โก และสุนทรียสาธกที่มีต่อความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่เวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลวิชัยยุทธth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities packagebased [i.e. package based] on Perla M. Taigo’s Whole Brain Literacy (WBL) concept and appreciative inquiry (AI) on organizational engagement of employees in the rehabilitation department of Vichaiyut Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare levels of organizational engagement of employees in the Rehabilitation Department of Vichaiyut Hospital before and after using a guidance activities package based on Perla M. Taigo’s whole brain literacy (WBL) concept and appreciative inquiry (AI), (2) to compare levels of organizational engagement after using the guidance activities package based on Perla M. Taigo’s whole brain literacy (WBL) concept and appreciative inquiry (AI) of employees in the Rehabilitation Department of Vichaiyut Hospital, as classified by gender, age, duration of employment, educational qualification, monthly income, and marital status; and (3) to study their satisfaction with and suggestions for using the guidance activities package. The research sample consisted of 20 employees in the Rehabilitation Department of Vichaiyut Hospital who were willing to participate in the activities. They were selected by stratified random sampling. The employed research instruments were (1) a scale to assess organizational engagement with reliability coefficient of .94; (2) a guidance activities package based on Perla M. Taigo’s whole brain literacy (WBL) concept and appreciative inquiry (AI) which consisted of 12 activities; and (3) a questionnaire on satisfaction with and suggestions for using the guidance activities package. Data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, two-way ANOVA, and content analysis. The findings showed that (1) the organizational engagement level of employees in the Rehabilitation Department of Vichaiyut Hospital after using a guidance activities package based on Perla M. Taigo’s whole brain literacy (WBL) concept and appreciative inquiry (AI) was significantly higher than their counterpart level before using the activities package at the .05 level of statistical significance; (2) employees in the Rehabilitation Department of Vichaiyut Hospital with different genders, ages, durations of employment, educational qualifications, monthly incomes, and marital statuses did not significantly differ in their levels of organizational engagement; (3) the employees were satisfied with the use of the guidance activities package at the highest level; meanwhile, they suggested that technology should be used to facilitate the participation of activities; also, online social media with up-to-date contents should be employed in conducting the activitiesen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
155393.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons