Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9341
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมลฤดี แพทย์ปฐม, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T02:26:00Z-
dc.date.available2023-09-01T02:26:00Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9341-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการบริหารเวลาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ในกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการบริหารเวลา และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการบริหารเวลาของนักเรียนกลุ่มทดลองหลังการทดลองกับระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย จังหวัดภูเก็ต ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความสามารถในการบริหารเวลา และ (2) แบบวัดความสามารถในการบริหารเวลา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย ปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลอง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ในกลุ่มทดลองมีความสามารถในการบริหารเวลาสูงขึ้นกว่าความสามารถดังกล่าวก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีความสามารถในการบริหารเวลาในระยะติดตามผลสูงกว่าความสามารถดังกล่าวหลังการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2015.234en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารเวลา -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่มีต่อความสามารถในการบริหารเวลาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package on time management ability of Mathayom Suksa I Students at Phuket Wittayalai School in Phuket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare time management abilities of Mathayom Suksa I students at Phuket Wittayalai School in the experimental group before and after using a guidance activities package to develop time management ability; and (2) to compare time management ability of the students in the experimental group at the end of the experiment with their counterpart ability during the follow up period. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa I students at Phuket Wittayalai School in Phuket province during the 2015 academic year, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop time management ability, and (2) a scale to assess time management ability, with .94 reliability coefficient. The data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The results revealed that (1) the post-experiment time management ability of Mathayom Suksa I students at Phuket Wittayalai School in the experimental group was significantly higher than their pre-experiment counterpart ability at the .01 level of statistical significance; and (2) the time management ability of the experimental group students during the follow up period was significantly higher than their counterpart ability at the end of the experiment at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156022.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons