Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพระสุชาติ แย้มกลัด, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T02:38:28Z-
dc.date.available2023-09-01T02:38:28Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9343-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความกตัญญูกตเวทีของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ในกลุ่มทดลองก่อน และหลังการ ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกตัญญูกตเวที และ (2) เปรียบเทียบความกตัญญูกตเวทีของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกตัญญู กตเวทีกับกลุ่มควบคุมซึ่งใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 60 คน ในสองห้องเรียนของ โรงเรียนอนุบาลดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี ปีการศึกษา 2559 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม แล้วสุ่มออกเป็นกลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม และกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความ กตัญญูกตเวที (2) แบบวัดความกตัญญูกตเวที มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .90 และ (3) กิจกรรม แนะแนวแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อพัฒนาความกตัญญูกตเวที มีความกตัญญูกตเวทีสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ภายหลังการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาความกตัญญูกตเวทีมีความกตัญญูกตเวทีสูงกว่าของกลุ่มควบคุมที่ได้รับกิจกรรมแนะ แนวแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.95en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการแนะแนว -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความกตัญญูกตเวทีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeEfects of using a guidance activities package to develop gratefulness of Prathom Suksa VI Students at Anuban Damnoen Saduak School in Ratchaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of gratefulness of Prathom Suksa VI students in the experimental group at Anuban Damnoen Saduak School in Ratchaburi province before and after using a guidance activities package to develop gratefulness; and (2) to compare the gratefulness level of Prathom Suksa VI students in the experimental group who used the guidance activities package to develop gratefulness with the counterpart level of the students in the control group who undertook traditional guidance activities. The research sample consisted of 60 Prathom Suksa VI students in two intact classrooms of Anuban Damnoen Saduak School in Ratchaburi province during the 2016 academic year, obtained by cluster sampling using the classroom as the sampling unit. Then students in one classroom was randomly assigned as the experimental group; while students in the other classroom, the control group, each of which consisting of 30 students. The employed research instruments comprised (1) a guidance activities package to develop gratefulness, (2) a scale to assess gratefulness, with reliability coefficient of .90, and (3) a set of traditional guidance activities. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) after the experiment, the post-experiment gratefulness level of the experimental group students who used the guidance activities package to develop gratefulness was significantly higher than their pre- experiment counterpart level at the . 05 level of statistical significance; and (2) after the experiment, the gratefulness level of the experimental group students who used the guidance activities package to develop gratefulness was significantly higher than the counterpart level of the control group students who undertook traditional guidance activities at the . 05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156023.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons