Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9345
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลาวัลย์ รักสัตย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรวรรณ แสงเทพ, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T02:52:09Z-
dc.date.available2023-09-01T02:52:09Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9345-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 และ (2) ตรวจสอบคุณภาพแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 10 จำนวน 375 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีลักษณะเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความตรง ความเที่ยง ความยากและค่าอำนาจจาแนก ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้นมีจำนวน 45 ข้อ วัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา การคำนวณ การจัดกระทำข้อมูลและสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกำหนดควบคุมตัวแปร การทดลอง และการตีความความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป และ (2) แบบวัดทักษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์มีความตรงเท่ากับ 1.00 ความเที่ยงเท่ากับ .81 ความยากระหว่าง .20 -.78 และค่าอำนาจจาแนกระหว่าง .20-.60 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.152en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 10th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a science process skills test for Mathayom Suksa I students in Schools under the Secondary Education Service Area Office 10th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to develop a science process skills test for Mathayom Suksa I students in schools under the Secondary Education Service Area Office 10; and (2) to investigate quality of the developed science process skills test for Mathayom Suksa I students in schools under the Secondary Education Service Area Office 10. The research sample consisted of 375 Mathayom Suksa I students in schools under the Secondary Education Service Area Office 10, obtained by stratified random sampling. The instrument used in this research was a science process skills test which was an objective test with 4-choice test items. Data on test try-out were statistically analyzed to determine indicators of the test quality which included the validity, reliability, difficulty index, and discrimination index. Research findings were as follows: (1) the developed science process skills test contained 45 test items for assessment of 13 science process skills, namely, observing, classifying, finding space/space and space/time relationships, calculating, data processing and communicating, inferring, predicting, formulating hypothesis, formulating operational definition, identifying and controlling variables, experimenting, interpreting data, and making conclusion; and (2) the IOC index for validity of the test was 1.00; the reliability was .81; the difficulty indices were in the range of .20 to .78; and the discrimination indices were in the range of .20 to .60, all of which met the predetermined criteriaen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156024.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons