Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9347
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชนกนารถ บุญวัฒนะกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ปนัดดา สัพโส, 2520- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-01T03:11:07Z | - |
dc.date.available | 2023-09-01T03:11:07Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9347 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจสภาพปัญหาและความต้องการการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชนในจังหวัดชัยภูมิ (2) สร้างแนวทางการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีของชุมชนในจังหวัดชัยภูมิ (3) ประเมินแนวทางการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชนในจังหวัดชัยภูมิ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย (1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นจำนวน 12 คน และ (2) ประชาชนจำนวน 361 คนจากชุมชนท้องถิ่นในจังหวัดชัยภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบสำรวจ แบบสร้างแนวทางการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชนในจังหวัดชัยภูมิ และแบบประเมินและรับรองแนวทางการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชน ในจังหวัดชัยภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) เกี่ยวกับสภาพปัญหาของการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่าประชาชนในท้องถิ่นส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักคือ ทำนา ทำสวน ทำไร่และมีเวลาว่างน้อย ขาดความร่วมมือในชุมชน ขาดงบประมาณ สถานที่ถ่ายทอดความรู้ ยังไม่เหมาะสม ขาดการประชาสัมพันธ์ ไม่มีเวทีแสดงผลงานของภูมิปัญญาท้องถิ่น ขาดการสนับสนุนด้านการตลาดและพื้นที่สาธารณะจำหน่ายสินค้าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น สำหรับความต้องการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ ต้องการให้มีการถ่ายทอดความรู้เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนอย่างจริงจัง ต้องการให้บรรจุความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลักสูตรสถานศึกษาและนำไปปฏิบัติจริง ให้ภาครัฐและเอกชนสนับสนุนการตลาด (2) แนวทางการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นประกอบด้วย องค์ประกอบเหล่านี้ คือ วิธีการถ่ายทอดความรู้ บุคคล สื่อและการประชาสัมพันธ์ การบริหารจัดการความรู้ สถานที่ และงบประมาณ (3) การประเมินแนวทางการถ่ายทอดความรู้ ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการถ่ายทอดความรู้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ควรสร้างขวัญกําลังใจให้กับภูมิปัญญาท้องถิ่นทุกด้าน สื่อและประชาสัมพันธ์ต้องต่อเนื่อง หน่วยงานรัฐควรส่งเสริม ให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและประชาชนร่วมกันบริหารจัดการความรู้ ควรใช้พื้นที่สาธารณะถ่ายทอดความรู้ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนงบประมาณ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธนาศัย--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ภูมิปัญญาชาวบ้าน--การสอน | th_TH |
dc.title | แนวทางการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพของชุมชุนในจังหวัดชัยภูมิ | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for imparting local wisdom knowledge to promote careers of local communities in Chaiyaphum Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to investigate the conditions of problems and the needs for imparting local wisdom knowledge to promote careers of local communities in Chaiyaphum province; (2) to create guidelines for imparting local wisdom knowledge to promote careers of local communities in Chaiyaphum province; and (3) to evaluate the guidelines for imparting local wisdom to promote careers of local communities in Chaiyaphum province. The sample consisted of (1) 12 local wisdom persons, and (2) 361 people from local communities in Chaiyaphum province. Research tools included an interview form, a survey form, a form for creating guidelines for imparting local wisdom to promote careers of local communities in Chaiyaphum province, and an evaluation and certifying form for guidelines for imparting local wisdom knowledge to promote careers of local communities in Chaiyaphum province. Data were analyzed using the frequency, percentage, and content analysis. The results showed that: (1) regarding the problems of imparting local wisdom knowledge, it was found that the majority of people in local communities occupied themselves in their main occupations of farming, gardening and dry farming; as a result, they did not have much free time; there were also the lack of cooperation from people in the community, lack of budget, inappropriateness of the place for imparting knowledge, lack of public relations, lack of places for demonstration of products based on local wisdom, and lack of supports for marketing and public area for selling products based on local wisdom; the needs for imparting local wisdom to promote careers of local communities were the following: the need for imparting knowledge to seriously create occupations and incomes for people in local communities; the need for including local wisdom knowledge in the school-based curriculum that results in enabling the students to practice the knowledge in their daily life; and the need for receiving marketing supports from both the state and private sectors; (2) the guidelines for imparting local wisdom knowledge consisted of the following elements: the method of imparting knowledge, the personnel, the media and public relations, the knowledge management, the place for imparting knowledge, and the budget; (3) evaluation results of the guidelines for imparting local wisdom knowledge to promote careers of local communities in Chaiyaphum province lead to the following suggestions: the method of imparting knowledge should be appropriate to the condition of local people; all local wisdom people should receive moral support to enhance their morale and will power; public relations and the use of media should be on a continuous basis; the state agencies should encourage local wisdom people and people in the community to cooperate in knowledge management; public places should be allowed to be used as the place for imparting local wisdom knowledge; and the concerned agencies should provide the budget support for the activity. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สารีพันธุ์ ศุภวรรณ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
156030.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License