กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9354
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุชารินี จันทร์คู่, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T04:02:52Z-
dc.date.available2023-09-01T04:02:52Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9354-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21ของนักศึกษากลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว (2) เปรียบเทียบทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมของนักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและของกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษากลุ่มทดลองที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 30 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 15 คนเท่ากัน กลุ่มทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 กลุ่มควบคุมใช้กิจกรรมแนะแนวแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 (2) แบบวัดทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 และ (3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมแนะแนว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักศึกษากลุ่มทดลองมีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 สูงขึ้น หลังใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ภายหลังการทดลองนักศึกษากลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวมีทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 สูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักศึกษากลุ่มทดลองมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมแนะแนวอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการปฏิรูปการเรียนรู้th_TH
dc.subjectนวัตกรรมทางการศึกษาth_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาระดับชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลกth_TH
dc.title.alternativeEffects of using a guidance activities package to develop learning and innovation skill in the 21st Century of fourth year students at Faculty of Education Sciences, Pibulsongkram Rajabhat University, Phitsanulok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the levels of learning and innovation skill in the 21st Century of the experimental group students before and after using a guidance activities package; (2) to compare the level of learning and innovation skill in the 21st Century of the experimental group students who used the guidance activities package with that of the control group students who undertook traditional guidance activities; and (3) to study the satisfaction of the experimental group students with the guidance activities package to develop learning and innovation skill in the 21st Century. The research sample consisted of 30 fourth year students in the Thai Language Program of the Faculty of Education Sciences, Pibulsongkram Rajabhat University in Phitsanuloke province, obtained by cluster sampling. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group, with 15 students in each group. The experimental group students used a guidance activities package to develop learning and innovation skill in the 21st Century; while the control group students undertook traditional guidance activities. The employed research instruments were (1) a guidance activities package to develop learning and innovation skill in the 21st Century; (2) an assessment scale on learning and innovation skill in the 21st Century, with reliability coefficient of .89; and (3) an evaluation form on student’s satisfaction with the guidance activities package. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The findings indicated that (1) after using the guidance activities package, the experimental group students significantly increased their level of learning and innovation skill in the 21st century at the .05 level of statistical significance; (2) after the experiment, the post-experiment level of learning and innovation skill in the 21st Century of the experimental group students who used the guidance activities package to develop learning and innovation skill in the 21st Century was significantly higher than the counterpart skill of the control group students at the .05 level of statistical significance;, and (3) the experimental group students were satisfied with the guidance activities package at the high levelen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Edu-Theses

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
156521.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.65 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons