Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9358
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา สบายยิ่งth_TH
dc.contributor.authorจันทรจิรา จอมเดช, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-01T05:55:03Z-
dc.date.available2023-09-01T05:55:03Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9358en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความมั่นใจในการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (2) ศึกษาอำนาจพยากรณ์ความมั่นใจในการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาจากปัจจัยทำนายด้านการรับรู้คุณค่าในตนเอง ทัศนคติต่อ การเรียนและวิชาชีพ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การสนับสนุนจากครอบครัว และการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเคยก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษา จำนวน 265 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่ม แบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามการรับรู้คุณค่าในตนเอง ทัศนคติต่อการเรียนและวิชาชีพ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การสนับสนุนจากครอบครัว การสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย และแบบสอบถามความมั่นใจในการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ชั้นปีที่เรียน สถานภาพทางครอบครัว และสถานภาพก่อนการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาต่างกัน มีความมั่นใจในการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ปัจจัยด้านการรับรู้คุณค่าในตนเอง และทัศนคติต่อการเรียนและวิชาชีพ สามารถร่วมกันพยากรณ์ ความมั่นใจในการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาได้ร้อยละ 7.2 โดยสามารถเขียนเป็นสมการพยากรณ์ได้คือ Y’ = .3983+.393 (การรับรู้คุณค่าในตนเอง) + .594 (ทัศนคติต่อการเรียนและวิชาชีพ) Z’ = .120 (การรับรู้คุณค่าในตนเอง) + .204 (ทัศนคติต่อการเรียนและวิชาชีพ)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความเชื่อมั่นth_TH
dc.subjectการออกกลางคันth_TH
dc.subjectนักศึกษาวิศวกรรมth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นใจในการก้าวผ่านการถูกคัดชื่อออกจากการเป็นนักศึกษาของนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting student’s confidence for avoiding being cut off from further registration in the faculty of engineering, Thammasat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of confidence for avoiding being cut off from further registration of the students as classified by personal background factors; and (2) to study the predicting power on student’s confidence for avoiding being cut off from further registration using the following variables as predicting variables: self-efficacy, attitudes toward learning and the profession, achievement motivation, supports from the family, and supports from the university. The research sample consisted of 265 undergraduate students in the Faculty of Engineering, Thammasat University, who had avoided being cut off from further registration. They were obtained by stratified random sampling. The sample size was determined based on Yamane’s method. The employed research instrument was a questionnaire consisting of question items on the factors of self-efficacy, attitudes toward learning and the profession, achievement motivation, supports from the family, and supports from the university, and question items on the confidence for avoiding being cut off from further registration. It was developed by the researcher and had the overall reliability coefficient of .96. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, Pearson’s correlation, and multiple regression analysis. Research findings were as follows: (1) the students with different personal background factors of age, year level, family status, and status before avoiding being cut off from further registration differed significantly in their levels of confidence for avoiding being cut off from further registration at the .05 level of statistical significance; and (2) the factors of self-efficacy and attitudes toward learning and the profession could be combined to predict confidence for avoiding being cut off from further registration by 7.2 per cent, and the predicting equations in the forms of raw score and standard score were as shown below: Y’ = .3983 + .393self-efficacy + .594 attitudes toward learning and the profession Z’ = .120Z self-efficacy + .204Z attitudes toward learning and the professionen_US
dc.contributor.coadvisorนิรนาท แสนสาth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156528.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons