Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/935
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฐปนรรต พรหมอินทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | เจษฎา พันธุ์แก้ว, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-23T07:03:34Z | - |
dc.date.available | 2022-08-23T07:03:34Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/935 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) บทบาทของตำรวจในการดำเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (2) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองของตำรวจในอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (3) วิธีการในการดำเนินการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้งทางการเมืองของตำรวจ ในอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ (4) เสนอแนะแนวทางของตำรวจในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง การศึกษานี้เป็นแบบเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร จำนวน 7 นาย ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน จำนวน 10 นาย และแกนนำประชาชนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ ความขัดแย้งทางการเมือง ในอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) บทบาทข้าราชการตำรวจที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทาง การเมือง โดยการจัดให้มีเวทีเจรจา มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างสันติวิธี มีการแต่งตั้งคนกลางเป็นผู้ประสานทั้งสองฝ่ายหลีกเลี่ยงการเข้าร่วมแสดงความคิดเห็นในปัญหาความขัดแย้ง รับฟัง และหาแนวทางร่วมกันในการแก้ปัญหา ให้คำแนะนำและช่วยเหลือเมื่อแต่ละฝ่ายร้องขอ และมีการจัดกิจกรรมร่วมกันเป็นประจำ และสม่ำเสมอ (2) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่พบคือ เกิดจากการขัดผลประโยชน์ของแต่ละกลุ่มโดยยึดถือผลประโยชน์ และความต้องการของกลุ่มตัวเองเป็นหลัก และกลุ่มผู้ขัดแย้งยึดถืออุดมคติของกลุ่มตนเองมากเกินไป ไม่เปิดใจยอมรับทัศนคติของอีกฝ่ายหนึ่ง และเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันในสังคม ความต้องการอำนาจทางการเมือง อีกทั้งเกิดจากการรับรู้ข่าวสารที่ไม่ตรงกันของประชาชน การแบ่งพรรค แบ่งพวก และความแตกต่างทางความคิดทางด้านการเมืองของประชาชน และเกิดจากการดำเนินการของผู้ที่รับผิดชอบ ไม่ได้ทำตามแบบ หรือวิธีหรือแนวทางที่กำหนดไว้ (3) การดำเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โดยจัดชุดมวลชนสัมพันธ์ออกไป ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนใน เรื่องการปกครองระบบประชาธิปไตย สิทธิการเลือกตั้ง จัดทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อจะได้รับรู้ แนวคิด ทัศนคติ ความคิดเห็นของประชาชน เพื่อที่เป็นแนวทางแก้ไข ปัญหาเรื่องความขัดแย้ง (4) แนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง พบว่า หน่วยงานของรัฐบาลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง ควรใช้การสร้างสังคมสมานฉันท์จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและยึดมั่นในหลักมนุษยธรรม เพื่อปฏิเสธการใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปัญหา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.226 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ตำรวจ -- ไทย | th_TH |
dc.subject | ความขัดแย้งทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | ตำรวจ -- กิจกรรมทางการเมือง | th_TH |
dc.title | บทบาทของตำรวจต่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | The role of the police in resolving political conflicts in Hang Dong District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.226 | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the role of the police in solving problems of political conflict in Hang Dong District, Chiang Mai Province; (2) problems faced by the police in this role; (3) methods used by the police in this role; and (4) recommendations for overcoming those problems and improving the role of the police in resolving political conflicts. This was a qualitative research. The sample population consisted of 7 ranked police officers, 10 police non-commissioned officers, and 20 community leaders who were involved with political conflicts in Hang Dong District, Chiang Mai Province. Data were collected using an interview form and were analyzed using percentage, mathematical mean, standard deviation, and content analysis. The results showed that (1) the role of the police in resolving political conflicts was to organize venues for negotiation and the exchange of opinions, to propose peaceful methods of jointly solving problems, to appoint neutral third parties to conciliate, to avoid expressing opinions that would support one side or the other, to listen and search for ways to solve problems, to provide advice and assistance when asked for, and to regularly hold joint activities. (2) The problems encountered were conflicts of interest between the political groups in which each group was only concerned about its own benefits; the political groups held too strongly to their ideals and refused to listen to the other groups’ opinions; social inequality; desire for political power; misinformation and lack of information from the media; factionalism; differences in political ideology among the people; and the responsible people did not follow the specified guidelines and methods. (3) The methods used by the police were to set up public relations units to inform the citizens about the democratic system and their election rights, and to join in many activities with the public to monitor public sentiment, ideas, attitudes, and perceptions. (4) Recommendations are for the relevant government agencies to build a united “society of agreement” in which conflicts are resolved through peaceful methods, and to hold fast to the principles of human rights, rejecting the use of violence to solve problems | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib140583.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License