Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9375
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรธนัย อ้นสำราญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิดารัตน์ บุญเต็ม, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-02T03:49:26Z-
dc.date.available2023-09-02T03:49:26Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9375-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรศูนย์ข้าวชุมชนบ้านฮ็อง ตำบลเพี้ยราม อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 2) สภาพการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชนบ้านฮ็อง ตำบลเพี้ยราม อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชนบ้านฮ็องตำบลเพี้ยราม อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 55 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนต้น มีประสบการณ์ทำนาเฉลี่ย 22.55 ปี เป็นสมาชิกมาแล้วเฉลี่ย 19.75 ปี อาศัยนํ้าฝนในการทำนา เป็นสมาชิกกลุ่มต่างๆ และเกือบทั้งหมดไม่มีตำแหน่งในชุมชน พื้นที่ทำนาเฉลี่ย 20.06 ไร่/ครัวเรือน ผลผลิตเฉลี่ย 371.22 กิโลกรัม/ไร่ ราคาจำหน่ายเฉลี่ย 20.27 บาท/กิโลกรัม แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.03 คน ต้นทุนการผลิตพันธุ์ข้าวเฉลี่ย 3,313.24 บาท/ไร่ 2) สภาพการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชน พบว่า กลุ่มมีการบริหารจัดการกลุ่มเป็นระบบ การจัดการแปลงพันธุ์ข้าวมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวที่นำมาขยายเหมาะสมมากที่สุด มีการเตรียมดินก่อนปลูก มีการตากเมล็ด มีการตัดพันธุ์ปน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม มีแปลงเรียนรู้ จำนวน 12 แปลง จำหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยกลุ่ม มีถุงบรรจุพันธุ์ข้าว และมีวิธีการเก็บรักษา มีตลาดภายในและภายนอกชุมชน กองทุนมีการบริหารอย่างเป็นระบบ และสามารถตรวจสอบได้ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์ฯประกอบด้วย ปัจจัยภายใน ได้แก่ ด้านผู้นำ สมาชิก กลุ่มการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านกองทุนหมุนเวียน การเรียนรู้ การคัดเลือกพื้นที่ทำแปลงเมล็ดพันธุ์ข้าว และการกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว ส่วนปัจจัยภายนอกได้แก่ ด้านนโยบายด้านการเกษตรของรัฐ การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ สภาพแวดล้อม การตลาด และปัจจัยการผลิตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectศูนย์ข้าวชุมชนบ้านฮ้อง--การดำเนินงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความสำเร็จth_TH
dc.titleปัจจัยความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชนบ้านฮ็อง ตำบลเพี้ยราม อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeSuccess factors of the operation of Ban Hong Community Rice Center in Phia Ram Sub-district, Mueang Surin District, Surin Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate 1) social and economic conditions of members of Ban Hong Community Rice Center; 2) operating conditions of Ban Hong Community Rice Center; and 3) the factors affecting the operational success of Ban Hong Community Rice Center. This study was examined by mixed research methods. For the quantitative research, data were collected from the total population of 36 members of Ban Hong Community Rice Center. The data were gathered by questionnaire and analyzed by frequency, percentage, maximum, minimum, mean and standard deviation. For the qualitative research, data were collected from a group of informants comprising all 36 members plus 1 staff of the Community Rice Center by group meetings and the data were analyzed by classifying and grouping. The results showed that 1) for social and economic conditions, 72.22 % were female, average age of 55 years old, graduated from elementary school, had an average farming experience of 22.55 years, and had been a member of the community rice center for an average of 19.75 years. Most of them relied on rain fed paddies for farming and most did not have any position in the community. The average farming area was 20.06 rai/household, the average yield was 371.22 kg/rai, the average selling price was 20.27 baht/kg, the average rice price was 20.27 baht/kg, the average household labor was 2.03 people and the average cost of paddy seed production was 3,313.24 baht/rai (1 rai =1,600m2 ). 2) Operating conditions: the group had systematic management. Breeding management was at the most appropriate level. The quality of the seeds used for propagating was most suitable. The soil was prepared before planting, the seeds were dried and continuous elimination of rogue contamination of other rice varieties in the plots was practiced. There was an exchange of knowledge in the group, 12 learning plots, seeds were sold by the group, and packaging bags and proper storage methods were used. There were markets inside and outside the community, the central funds were systematically managed and audited. 3) Factors affecting the success of operations included the internal factors such as leadership, members, management within the center, revolving funds, learning, selection of seed plots and seed distribution. For the external factors were agricultural policy of the government, support from government agencies, environment, marketing and production inputs.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons