Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9380
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จรรยา สิงห์คำ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | วนาลัย วิริยะสุธี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | บุญญาพร รักษาวงษ์, 2523- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-02T07:57:09Z | - |
dc.date.available | 2023-09-02T07:57:09Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9380 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการทรัพยากรเกษตร)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การจัดการการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรแปลงใหญ่ 2) ปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร และ 3) แนวทางการพัฒนาการจัดการการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรแปลงใหญ่อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ ผลการวิจัยพบว่า 1) พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่มนํ้าไม่ท่วมขัง เตรียมดินโดยการไถดะและไถแปร พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่นิยมปลูกส่วนใหญ่ คือ พันธุ์แปซิฟิก 789 ระยะปลูก 50×25 เซนติเมตร จำนวน 1 ต้นต่อหลุม เกษตรกรใช้นํ้าบาดาล และมีการใส่ปุ๋ยเคมี 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 เป็นปุ๋ยรองพื้นพร้อมปลูก และครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยแต่งหน้า เมื่อข้าวโพดอายุเฉลี่ย 31.98 วัน เกษตรกรมีการสำรวจศัตรูพืชภายในแปลง การเก็บเกี่ยวผลผลิตส่วนใหญ่ใช้เครื่องเกี่ยวนวดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และกะเทาะข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทันทีหลังการเก็บเกี่ยว เกษตรกรมีต้นทุนการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 4,210 บาทต่อไร่ ราคาขายผลผลิตเฉลี่ย 7.50 บาทต่อกิโลกรัม ผลผลิตเฉลี่ย 1,291 กิโลกรัมต่อไร่ และมีกำไรจากการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 5,472.50 บาทต่อไร่ 2) ปัญหาในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คือ ปัจจัยการผลิต และราคาจำหน่ายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้อเสนอแนะของเกษตรกร คือ เกษตรกรควรมีการรวมกลุ่ม และสร้างเครือข่ายในการจัดการปัจจัยการผลิต ภาครัฐควรจัดทำโครงการประกันรายได้ เพื่อลดการกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง 3) แนวทางการพัฒนาการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พบว่า ด้านกลยุทธ์เชิงรุก คือ การส่งเสริมวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีด้านการผลิต เพื่อลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มมูลค่าในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ด้านกลยุทธ์เชิงแก้ไข คือ การถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งระบบในด้านการผลิต และสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เข้ามาสานต่ออาชีพการเกษตร ด้านกลยุทธ์เชิงป้องกัน คือ การเฝ้าระวังและการสร้างระบบการตัดวงจรการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช เพื่อลดต้นทุนการผลิต และด้านกลยุทธ์เชิงรับ คือ การจัดฝึกอบรมด้านการจัดการดิน การจัดการศัตรูพืช การตลาด การสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างเกษตรกร ภาครัฐ และผู้ประกอบการให้เกิดความเชื่อมโยงกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข้าวโพด | th_TH |
dc.subject | อาหารสัตว์จากข้าวโพด | th_TH |
dc.title | การจัดการการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรแปลงใหญ่ในอำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ | th_TH |
dc.title.alternative | Maize production management of collaborative farmers, Si Rattana District, Si Sa Ket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) maize production management of collective farmers 2) problems and suggestions for maize production of farmers and 3) development guidelines for maize production management of collective farming farmers in Sirattana district, Sisaket province. This research is a mixed methods research consisting of 1) quantitative research: the population of this research was 219 maize production farmers who were members of collective farming group in Sirattana district, Sisaket province and registered with the Department of Agricultural Extension in 2020. The sample size was determined using Taro Yamane’s formula at an error level of 0.05. A sample size of 142 people was obtained with simple random sampling method. A research tool was a questionnaire. The statistics used were descriptive statistics such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean and standard deviation. 2) qualitative research: the group of informants included of maize production farmers, staff of Department of Agriculture and staff of Department of Agriculture Extension for a total 15 participants. The instruments used were the focus group recording form. Data were analyzed by content analysis. The results found that 1) the most of maize growing area was a low land with no flooding issue. They prepared the soil by ploughing roughtly and ploughing in regular furrows. The most popular maize variety was Pacific 789, with a planting distance of 50×25 centimeters, and the plant per hole was one plant. They used ground water and chemical fertilizers were applied for two times, the first time as the base in preparation for the planting and the second time for fertilizer top dressing when the maize had the average age of 31.98 days. Farmers performed a survey for pest control within the crops. Most harvests used maize harvester and maize cracker immediately after harvesting. Farmers had the average production cost of maize to 4,210 Baht/Rai, the average product selling price of 7.50 Baht/kilogram, average yield of 1,291 kilogram/Rai, and had the average profit from maize production of 4,472.50 Baht/Rai. 2) problems of maize production were production factors and the selling price. Suggestions of farmers were that the farmers should establish a group and create network for production factor management. The government sector should create price guarantee project in order to reduce the under-pricing from middleman. 3) the development guidelines for maize production revealed that the proactive strategies were to promote research and development of production technology to reduce production costs and increased the value of product processing. The corrective strategies were to the technology transfer throughout the production system and support young farmers to pursue a career in agriculture. Preventive strategies were the surveillance and the creation of a system to break the cycle of disease and pest infestations to reduce production costs. The defensive strategies were to provide the training of soil management, pest management, marketing, networking partnership between the farmers, government, and entrepreneurs to create connection | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License