Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9382
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุวรรณ บุญศรีภูมิ, 2534--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-04T06:58:18Z-
dc.date.available2023-09-04T06:58:18Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9382-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบเจตคติต่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง ก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และ (2) เปรียบเทียบเจตคติต่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนดังกล่าวหลังการทดลองกับในระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยอง ที่ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม และแบบวัดเจตคติต่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) เจตคติต่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร ที่ได้รับการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) เจตคติต่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนดังกล่าว หลังการทดลองกับใน ระยะติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectจิตวิทยาการปรึกษาth_TH
dc.subjectเยาวชน -- พฤติกรรมทางเพศth_TH
dc.titleผลการให้การปรึกษาแบบกลุ่มตามแนวคิดทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม ที่มีต่อเจตคติการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชัั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมาบตาพุดพันพิทยาคาร จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeEffects of group counseling based on the rational emotive behavior therapy on attitudes toward prevention of having premature sexual relationship of Mathayom Suksa V Students in Mabtaput Panpittayakarn School, Rayong Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare attitudes towards prevention of having premature sexual relationship of Mathayom Suksa V students in Mabtaput Panpittayakarn School, Rayong province, before and after receiving group counseling based on the rational emotive behavior therapy; and (2) to compare attitudes towards prevention of having premature sexual relationship of the students at the end of the experiment and during the follow-up period. The research sample consisted of 15 Mathayom Suksa V students in Mabtaput Panpittayakarn School, Rayong province, who were randomly selected and then assigned as members of the experimental group. The employed research instruments were a group counseling program based on the rational emotive behavior therapy, and a scale to assess attitude towards prevention of having premature sexual relationship, with reliability coefficient of .93. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-experiment attitude towards prevention of having premature sexual relationship of Mathayom Suksa V students in Mabtaput Panpittayakarn School, who received group counseling based on the rational emotive behavior therapy, was significantly higher than their pre-experiment counterpart attitude at the .05 level of statistical significance; and (2) no significant difference was found between the students’ attitudes towards prevention of having premature sexual relationship at the end of the experiment and during the follow-up perioden_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158636.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons