Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีปth_TH
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
dc.contributor.authorมาศสุภา รัตนไทรงาม, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-04T07:37:42Z-
dc.date.available2023-09-04T07:37:42Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9385-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดรังสิตาวาส โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง เรื่อง ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ (2) พัฒนาทักษะการตัดสินใจ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดรังสิตาวาส โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง เรื่อง ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ และ (3) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดรังสิตาวาส ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 7 คน ได้กลุ่มตัวอย่างมาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง เรื่อง ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ แบบวัด ความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดทักษะการตัดสินใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า หลังจากการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง (1) นักเรียนมีความสามารถในการโต้แย้ง เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะการยกข้อกล่าวอ้าง การให้เหตุผลสนับสนุน การนำหลักฐานมาสนับสนุนเหตุผลที่กล่าวอ้าง การเสนอข้อโต้แย้งที่ต่างออกไป และการให้เหตุผลสนับสนุนการโต้แย้งกลับ (2) นักเรียนทุกคน มีทักษะการตัดสินใจเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการระบุปัญหา การกำหนดทางเลือก การประเมินทางเลือกการจัดอันดับทางเลือก และการตัดสินใจเลือก และ (3) แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง มีดังนี้ (3.1) ประเด็นการโต้แย้งที่เป็นเรื่องในชุมชนและสังคมของนักเรียนสามารถเร้าความสนใจในการเรียนรู้และการทำกิจกรรมโต้แย้งของนักเรียนได้ดี (3.2) การให้นักเรียนรับรู้ความก้าวหน้าทาง การเรียนของตนเองอย่างสม่ำเสมอ มีผลต่อการพัฒนาความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์และทักษะการตัดสินใจของนักเรียน (3.3) ครูมีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการใช้หลักฐานและการให้เหตุผลเพื่อสนับสนุนข้อกล่าวอ้าง และ (3.4) การจัดกลุ่มนักเรียนแบบคละความสามารถ ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรับผิดชอบในการทำงานมากขึ้น ร่วมกันแก้ปัญหา สร้างความเชื่อมั่น เห็นคุณค่า เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง ส่งผลดีในการทำกิจกรรมโต้แย้งth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสานth_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์และทักษะการตัดสินใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดรังสิตาวาส จังหวัดยะลา โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสืบเสาะแบบผสมผสานการโต้แย้ง เรื่อง ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of scientific argumentation ability and decision making skill of Mathayom Suksa III student of Wat Rungsitawas Schools in Yala Province using the argument-based inquiry approach in the topic of Ecology System, Environment and Natural Resourcesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop scientific argumentation ability of Mathayom Suksa III students of Wat Rungsitawas School in Yala province using the argument-based inquiry approach in the topic of Ecology, Environment and Natural Resources; (2) to develop decision making skills of Mathayom Suksa III students of Wat Rungsitawas School in Yala province using the argument-based inquiry approach in the topic of Ecology, Environment and Natural Resources; and (3) to study the best practices of the argument-based inquiry approach. The research sample consisted of 7 purposively selected Mathayom Suksa III students of Wat Rungsitawas School in Yala province during the 2016 academic year. The employed research instruments were (1) learning management plans for the argument-based inquiry approach in the topic of Ecology, Environment and Natural Resources; (2) a scientific argumentation ability test; and (3) a decision making skills test. Research data were analyzed using content analysis. The research findings showed that after learning under the argument-based inquiry approach, (1) the students had increased their level of scientific argumentation ability, especially the presentation of the claim, the supporting reasons, the supporting evidences, the counter argument and reasons in support of the counterargument; (2) all students had more decision-making skills, especially the skills to define the problem; to identify alternatives; to evaluate alternatives; to rank alternatives; and to choose the best alternative; and (3) the best practices of the argument-based inquiry approach were the following: (3.1) the argumentative issues related to students’ communities could arouse students to learn and get engaged in argumentative activities; (3.2) allowing students to regularly know their own learning progress affected the development of their scientific argumentation ability and decision making skills; (3.3) the teacher had a key role to motivate the students to realize the importance of using evidences and reasoning to support their argument; and (3.4) the heterogeneous grouping of students encouraged the students to be more responsible in their group work, to cooperate in problem solving, to have more confidence, to realize the values, and to be proud of themselves which resulted in good outcomes of engaging in argumentative activitiesen_US
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159883.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons