Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนาวัฒน์ น้อยไธสง, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-05T01:07:05Z-
dc.date.available2023-09-05T01:07:05Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9392-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่องวงจรไฟฟ้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา และ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่องวงจรไฟฟ้า ของนักเรียนดังกล่าว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 25 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เรื่องวงจรไฟฟ้า (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.80 และ (3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา มีความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียน มีพัฒนาการขั้นวิเคราะห์ปัญหาสูงสุด รองลงมาคือขั้นระบุปัญหา ขั้นกาหนดวิธีแก้ปัญหา และขั้น การตรวจสอบผลลัพธ์ และ (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่องวงจรไฟฟ้า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน -- วิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาเรื่อง วงจรไฟฟ้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of problem solving ability and science learning achievement using learning management based on STEM Education in the topic of Electric Circuit for Prathom Suksa VI student at Demonstration School of Rajabhat Rajanagarindra University in Chachoengsao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare problem solving abilities of Prathom Suksa VI students at the Demonstration School of Rajabhat Rajanagarindra University in Chachoengsao province before and after learning under the learning management based on STEM Education in the topic of Electric Circuit; and (2) to compare science learning achievements of the students before and after learning under the learning management based on STEM Education in the topic of Electric Circuit. The research sample consisted of 25 Prathom Suksa VI students in an intact classroom of the Demonstration School of Rajabhat Rajanagarindra University in Chachoengsao province in the 2019 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments comprised (1) learning management plans for the learning management based on STEM Education in the topic of Electric Circuit; (2) a problem solving ability test, with reliability coefficient of 0.80; and (3) a science learning achievement test, with reliability coefficient of 0.85. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The findings of this study were as follows: (1) the post-learning problem solving ability of the students who learned under the learning management based on STEM Education in the topic of Electric Circuit was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance; the students had the highest level of development in the problem analysis step, followed by those in the problem identification step, the determination of problem solving method step, and the checking of outcomes step, respectively; and (2) the post-learning science learning achievement of the students who learned under the learning management based on STEM Education in the topic of Electric Circuit was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162228.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons