Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9401
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรชต ปานบุญ, 2528- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-05T04:26:45Z-
dc.date.available2023-09-05T04:26:45Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9401-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น ที่มีต่อการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงา ที่ศึกษาในปีการศึกษา 2561 จำนวน 316 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีต่อการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฎว่า ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีต่อการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 5 ด้าน ด้านเหล่านี้พร้อมด้วยข้อกระทงที่ได้ ค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ (1) ด้านวัตถุประสงค์ของการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ เพื่อค้นคว้าข้อมูลประกอบการทำงานชิ้นงานที่ครูมอบหมาย (2) ด้านเนื้อหาสาระของการใช้ สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ เนื้อหาสาระจากสื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีความชัดเจน เข้าใจง่าย (3) ด้านวิธีการนำเสนอสื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ การนำเสนอด้วยรูปภาพ (4) ด้านกิจกรรมประกอบการใช้สื่อสังคม เพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ นักเรียนมีส่วนร่วมกับกิจกรรมที่จัดขึ้นในชั้นเรียน และ (5) ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากสื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ เป็นแหล่งความรู้และสืบค้นข้อมูลได้เป็นอย่างดี และผลการวิจัยอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ด้านเหล่านี้พร้อมด้วยข้อกระทงที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ (1) ด้านประเภทของสื่อสังคมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คือ เฟซบุ๊ก และ (2) ด้านปัญหาและอุปสรรคของการใช้ สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้ คือ สัญญาณอินเทอร์เน็ตที่ใช้เชื่อมต่อสื่อสังคมในโรงเรียน ไม่ทั่วถึงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีต่อการใช้สื่อสังคมเพื่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน จังหวัดพังงาth_TH
dc.title.alternativeThe opinions of lower secondary students towards using social media for science learning of Deebuk Phang-nga Wittayayon School in Phang-nga Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to explore opinions of lower secondary students towards using social media for science learning of Deebuk Phang-nga Wittayayon School in Phang-nga province. The research sample consisted of 316 lower secondary students studying in the 2018 academic year at Deebuk Phang-nga Wittayayon School in Phang-nga province, obtained by stratified random sampling. The employed research instrument was a questionnaire on opinions of lower secondary students towards using social media for science learning. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that the overall opinion towards using social media for science learning of lower secondary students of Deebuk Phang-nga Wittayayon School in Phang-nga province was at the high level. When specific aspects of using social media for science learning were considered, it was found that the students’ opinions were at the high level towards five aspects. These five aspects, each of which was shown with the item that received the top rating mean, were as follows: (1) the aspect of objectives of using social media for science learning, with the item: to search for information to make reports or work pieces as assigned by the teacher; (2) the aspect of contents of using social media for science learning, with the item: the contents of social media for science learning being clear and easy to understand; (3) the aspect of the presentation method for social media for science learning, with the item: the presentation with pictures; (4) the aspect of activities for using social media for science learning, with the item: students participating in activities organized in the classroom; and (5) the aspect of benefits of using social media for science learning, with the item: social media being good sources from which to search for knowledge. On the other hand, the students’ opinions were at the moderate level toward two aspects. These two aspects, each of which was shown with the item that received the top rating mean, were as follows: (1) the aspect of types of social media appropriate with learning science, with the item: Facebook; and (2) the aspect of problems and obstacles for using social media for science learning, with the item: the Internet signal for connecting social media in the school being not thorough.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161433.pdf14.07 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons