Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorละอองทิพย์ ช่างเกวียน, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-05T08:48:34Z-
dc.date.available2023-09-05T08:48:34Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9412-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมและการยอมรับในการจัดการเรียน การสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของครูโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มที่ 6 จำนวน 222 คน ตามตารางทาโรยามาเน่ ที่ความเชื่อมั่น 95% ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความพร้อมและการยอมรับในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของครูโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มที่ 6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏว่า ความพร้อมและการยอมรับในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดในแต่ละด้าน ได้แก่ (1) ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของครู คือ ด้านบุคลากร มีความรู้ ความชำนาญ เพื่อให้คำแนะนำในการจัดการเรียนการ สอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และด้านเนื้อหาวิชามีความรู้และทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการเรียน การสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถ่ายทอดให้กับผู้เรียน และ (2) การยอมรับในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของครู คือ ชั้นการรับรู้ โดยทราบว่าการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทำให้เกิดความยืดหยุ่นในห้องเรียนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการสอนth_TH
dc.titleความพร้อมและการยอมรับในการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของครูโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กลุ่มที่ 6th_TH
dc.title.alternativeReadiness for and acceptance of e-learning of teachers in group six schools under Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to investigate the readiness for and acceptance of e-Learning of teachers in Group Six schools under Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. The research sample consisted of 222 teachers in Group Six schools under Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization, obtained by stratified random sampling. The sample size was determined based on Taro Yamane’s Sample Size Table at the 95 percent confidential level. The employed research instrument was a questionnaire on the readiness for and acceptance of e-Learning of teachers in Group Six schools under Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that the overall readiness for and acceptance of e-Learning of the teachers were at the high level. When their specific aspects were considered, it was found that the readiness for and acceptance of all aspects of eLearning were at the high level, with the top rating means for each aspect specified as follows: (1) the readiness for management of e-Learning of the teachers in the personnel aspect was that the personnel had knowledge and expertise for giving advices on management of e-Learning; and their readiness in the contents aspect was that they had knowledge and basic skills in management of e-Learning to impart to their students; and (2) their acceptance of e-Learning management was that in the awareness level, they were aware that application of e-Learning in the classroom resulted in flexibility of learning management in the classroom.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151911.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons