Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิภารัตน์ บุญล้อม, 2514-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-12T04:36:49Z-
dc.date.available2023-09-12T04:36:49Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9430-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง การไปเที่ยวซื้อของให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประเทียบวิทยาทาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 ที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 จำนวน 40 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง การไปเที่ยวซื้อของ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา ต่างประเทศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าประสิทธิภาพ E1/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่อง การไปเที่ยวซื้อของมีประสิทธิภาพ 82.23/82.40 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ มีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาษาอังกฤษ--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleชุดการเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เรื่องการไปเที่ยวซื้อของสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประเทียบวิทยาทาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4th_TH
dc.title.alternativeE-Learning packages in the foreign languages learning area on shopping trips for Mathayom Suksa III students at Pratiab Wittayatan School in Secondary Education Service Area 4en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (l)to develop a set of e-Learning Packages in the Foreign Languages Learning Area on Shopping Trips for Mathayom Suksa ni Students at Pratiab Wittayatan School in Secondary Education Service Area 4 based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of Mathayom Suksa ni students learning from the e-leaning packages; and (3) to study the opinion of Mathayom Suksa III students on the quality of e-learning packages. The research sample employed for efficiency testing consisted of 40 Mathayom Suksa m students studying at Pratiab Wittayatan School in Secondary Education Service Area 4 in the first semester of the 2011 academic year, obtained by cluster random sampling. Research instruments comprised (1) e-Learning Packages in the Foreign Language Learning Area on Shopping; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post- testing; and (3) a Questionnaires asking the students' opinion on the quality of e-leaning packages. Statistics used were the E1/E2 index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) e-learning packages were efficient at 82.23/82.40; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) the learning progress of the students learning from the e- learning packages was significantly increased at the .05 level; and (3) the opinion of the students on the quality of the e-learning packages was at highly agreeable level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130342.pdf30.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons