Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9445
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา โตโพธิ์ไทย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุชาดา ศรีโยธี, 2537--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T03:01:54Z-
dc.date.available2023-09-13T03:01:54Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9445-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพการพยาบาล สําหรับนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกให้มีประสิทธิภาพ (2) ประเมินคุณภาพบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพการพยาบาลสําหรับนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 ที่มีต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 56 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จํานวน 30 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย และผู้ให้ข้อมูลในการประเมินคุณภาพบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ จํานวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพการพยาบาล (2) แบบประเมินคุณภาพบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ (4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 หลังใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาปรากฏว่า (1) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพการพยาบาล สําหรับนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก มีประสิทธิภาพ 80.44/81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนด (2) ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพการพยาบาล สําหรับนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่ามีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด และ (3) นักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกมีความพึงพอใจต่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ อยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectจรรยาบรรณพยาบาล--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาth_TH
dc.titleการสร้างบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง แนวคิดและหลักจริยธรรมวิชาชีพ การพยาบาล สำหรับนักเรียนพยาบาลชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบกth_TH
dc.title.alternativeCreation of an E-Learning on Ethical Concept and Principles of Nursing Profession for the Second-Year Nursing Students of the Royal Thai Army Nursing Collegeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to (1) to create an E-learning on Ethical Concept and Principles of Nursing Profession for the Second-Year Nursing Students of The Royal Thai Army Nursing College (2) to verify quality of the created E-learning, and (3) to evaluate student’s satisfaction to E-learning. The research sample comprised 30 second-year nursing students of The Royal Thai Army Nursing College during the second semester of the 2020 academic year and 6 experts, obtained by simple random. The employed research instrument was (1) the created E-learning on Ethical Principles (2) a quality assessment for the E-learning, (3) Posttest of the E-learning on Ethical Principles, and (4) questionnaire on the uses of E-learning on Ethical Principles of Nursing Profession. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings revealed that (1) the created E-learning entitle ethical principles of nursing profession had efficiency at 80.44/81.33 (2) result of quality verification by the experts show data constructed E-learning as a whole was appropriate at the highest level and (3) the students had satisfaction at highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons