Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9450
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนงเยาว์ ประดับ, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T03:26:48Z-
dc.date.available2023-09-13T03:26:48Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9450-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความฉลาดทางสังคมของวัยรุ่นตอนปลายในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิพันธกิจแห่งพระคุณในประเทศไทย จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ และ (2) เปรียบเทียบความฉลาดทางสังคมของวัยรุ่นตอนปลาย ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการกับกลุ่มควบคุมที่ได้รับคําแนะนําแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ วัยรุ่นตอนปลายที่มีอายุ 16-18 ปี ซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิพันธกิจแห่งพระคุณในประเทศไทย จังหวัดบุรีรัมย์ ปีพ.ศ. 2564 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจากผู้ทำแบบวัดความฉลาดทางสังคมที่มีคะแนนต่ำ จํานวน 16 คน แล้วสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับฉลากเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคม (2) แบบวัดความฉลาดทางสังคมที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .91 และ (3) การให้คำแนะนำแบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบวิลคอกซัน และทดสอบแมนนวิทนีย์ ยู ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการทดลอง วัยรุ่นตอนปลายในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิพันธกิจแห่งพระคุณในประเทศไทย จังหวัดบุรีรัมย์ ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการ มีคะแนนความฉลาดทางสังคมสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ภายหลังการทดลอง คะแนนความฉลาดทางสังคมของวัยรุ่นกลุ่มทดลองสูงกว่าของกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มสำหรับวัยรุ่นth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้โปรแกรมการปรึกษากลุ่มแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาความฉลาดทางสังคมของวัยรุ่นตอนปลายในความอุปถัมภ์ของมูลนิธิพันธกิจแห่งพระคุณในประเทศไทย จังหวัดบุรีรัมย์th_TH
dc.title.alternativeThe effect of using an integrated group counseling program to develop social intelligence of late adolescents under Thailand Grace Ministry Foundation in Buri Ram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the social intelligence levels of late adolescents under Thailand Grace Ministry Foundation in Buri Ram province before and after using an integrated group counseling program; and (2) to compare the social intelligence level of late adolescents in the experimental group, who received the integrated group counseling program, with the counterpart level of late adolescents in the control group who received normal counseling. The research sample consisted of 16 purposively selected late adolescents, aged 16 – 18 years, under Thailand Grace Ministry Foundation in Buri Ram province during B.E. 2564 whose social intelligence scores as measured by a social intelligence assessment scale were low. After that, they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which consisting of 8 adolescents. The research instruments were (1) an integrated group counseling program to develop social intelligence; (2) a social intelligence assessment scale, with reliability coefficient of .91; and (3) a set of normal counseling. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, Wilcoxon test, and Mann-Whitney U test. The research findings showed that (1) after the experiment, late adolescents under Thailand Grace Ministry Foundation in Buri Ram province who had received the integrated group counseling program had their post-experiment social intelligence scores significantly higher than their pre-experiment counterpart scores at the .05 level of statistical significance; and (2) after the experiment, the post-experiment social intelligence scores of the experimental group late adolescents were significantly higher than the post-experiment counterpart scores of the control group late adolescents at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons