Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9455
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปภาวดี มนตรีวัต | th_TH |
dc.contributor.author | จินตนา จันทร์แจ่ม ศรีประเทศ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-13T03:54:11Z | - |
dc.date.available | 2023-09-13T03:54:11Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9455 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณภาพการให้บริการประชาชนของโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ ในพื้นที่อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับคุณภาพการให้บริการประชาชน ของโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ ในพื้นที่อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัญหาในการบริการประชาชนของโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ ในพื้นที่อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ (4) ศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการดำเนินงานการบริการประชาชน ของโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ ในพื้นที่อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนผู้มารับบริการตามโครงการงจังหวัดกระบี่ในเขตพื้นที่อำเภอลำทับ จำนวน 550 คน กลุ่มตัวอย่าง 231 คน คำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบผลต่างด้วยค่านัยสำคัญต่ำสุด ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพการให้บริการประชาชน ของโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ ในพื้นที่อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา และอาชีพแตกต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาที่พบมากที่สุดได้แก่ปัญหาด้านกระบวนการบริการ โดยเฉพาะการที่ต้องรอรับบริการรองลงมาได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะด้านความเพียงพอของเจ้าหน้าที่ (4) ข้อเสนอแนะด้านกระบวนการบริการ ควรจัดให้มีอุปกรณ์และเครื่องมือที่ทันสมัยอยางเพียงพอเพื่อให้บริการได้อย่างรวดเร็ว และ ควรมีบัตรคิวในการขอรับบริการ มีช่องทางด่วนสำหรับผู้ใช้บริการลักษณะพิเศษเช่น พระ คนพิการ หญิงมีครรภ์ คนชรา ควรมีป้ายประชาสัมพันธ์ที่มีความชัดเจนและเข้าใจง่าย รวมทั้งกล่องแสดงความคิดเห็น ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ควรเพิ่มอัตรากำลังให้เพียงพอต่อการบริการ โดยคำนึงถึงจำนวนผู้รับบริการในแต่ละช่วงเวลา และควรพัฒนาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มีจิตสำนึกและจิตวิญญาณในการให้บริการที่ดีตลอดจนความรู้ในด้านกฎหมาย ระเบียบ เพื่อสามารถปรับทัศนคติให้เหมาะสมกับการให้บริการประชาชนอันจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพด้านการบริการแก่ประชาชน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โครงการจังหวัดเคลื่อนที่ | th_TH |
dc.subject | บริการสาธารณะ--ไทย--กระบี่ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจ | th_TH |
dc.title | คุณภาพการให้บริการประชาชนของโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ในพื้นที่อำเภอลำทับ จังหวัดกระบี่ | th_TH |
dc.title.alternative | Quality of service of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to (1) study quality of service of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi province (2) compare people's opinions on level of quality of service of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi province classified by personal factors, (3) study problems of Service of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi province (4) study ways to improve the service of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi province Population comprised 550 service recipients of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi province, from which 231 samples were obtained via Yamane calculation. Simple random sampling method was applied. Instrument used was questionnaire . Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and LSD. The results showed that (1) quality of service of Mobile Public Service Project in Lam Thap District area, Krabi province was at high level (2) when compared people's opinions on quality level classified by personal factors, it was found that people with different ages, educational levels, and occupations had different opinions in all aspects with 0.05 level of statistical significance (3) most problems were in service process, particularly the delay of services, next in service providers, especially the inadequacy of staff (4) recommendations were: on process aspect, modern and adequate equipment should be provided so to increase service speed, queuing for services should be applied, express channel should be arranged for those specialties such as monk, handicapped, senior citizen, pregnant woman, clear promotion board should be equipped, together with suggestion box; on service providers: more staff should be arranged in accordance with the amount of service recipients in each period, training on service mind and human relations should be provided to service providers, as well as training in laws and regulations, so they could adjust their attitude suitable for their responsibilities, which would lead to the increase in quality of services as a whole. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140225.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 15.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License