Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9456
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสุ สุวรรณวิหคth_TH
dc.contributor.authorสิรินันท์ พานพิศ, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T04:12:49Z-
dc.date.available2023-09-13T04:12:49Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9456en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมและรูปแบบการออมส่วนบุคคลของบุคลากรในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อจำนวนเงินออมส่วนบุคคลของบุคลากรในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ แบบสอบถามโดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำในสังกัดหน่วยงานส่วนกลางของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวนทั้งสิ้น 346 ตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามสัดส่วนประชากร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีจำนวนเงินออมต่ำกว่า 5,000 บาทต่อเดือน มีสัดส่วนเงินออมต่อรายได้อยู่ระหว่างร้อยละ 10-30 โดยส่วนใหญ่เป็นการออมเงินในสถาบันการเงิน และมีจุดมุ่งหมายของการออมเพื่อใช้ในยามเจ็บป่วย/ยามชราคิดเป็นสัดส่วนมากที่สุด 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อจำนวนเงินออมส่วนบุคคล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ ระดับการศึกษาปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่เป็นรายได้จากงานประจำ และรายได้จากงานพิเศษ ภาระหนี้สินเพื่อการอุปโภคบริโภคที่ต้องชำระต่อเดือน และหนี้สินจากการซื้อทรัพย์สิน ส่วนปัจจัยที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ตำแหน่งงานที่เป็นข้าราชการระดับสูง สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัดส่วนเงินออมต่อรายได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษาปริญญาตรี จำนวนสมาชิกในครอบครัวที่ไม่มีรายได้ รายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่เป็นรายได้จากงานประจำ ภาระหนี้สินเพื่อการอุปโภคบริโภคที่ต้องชำระต่อเดือน และหนี้สินจากการซื้อทรัพย์สิน ส่วนปัจจัยที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ จำนวนสมาชิกในครอบครัว ตำแหน่งงานที่เป็นพนักงานราชการและลูกจ้างประจำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข--ข้าราชการและพนักงาน--การเงินส่วนบุคคลth_TH
dc.subjectการออมกับการลงทุนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleพฤติกรรมการออมส่วนบุคคลของบุคลากรในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeIndividual saving behavior of personnel of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Healthen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) the individual savings behaviors and patterns of officers of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health and 2) the factors influencing the amount of personal savings of officers of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. The instrument used in the research was the questionnaires designed for collecting the data of 346 samples by the simple random sampling technique based on the population proportion from civil servants, government employees, and permanent employees of the central unit of the Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health. The data were analyzed by descriptive statistics such as frequency distribution, percentage, and mean. Also, the relationships between variables were analyzed by multiple regression analysis. The results of the study showed that 1) most of the samples had savings less than 5,000 baht per month, had a savings to income ratio ranging between 10-30%, saved money in financial institutions, and aimed to save for use in case of sickness or/old age, and 2) the factors influencing the amount of personal savings with a statistical significance level of 0.01 were the bachelor's degree, average monthly income from the full-time and part-time jobs, consumer debt that must be paid monthly, and liabilities from the purchase of assets. In the case of the influencing factor with a statistical significance level of 0.05, it was the senior position of the civil servant. The factors influencing the savings to income ratio with a statistical significance level of 0.01 were age, the bachelor's degree, number of family members with no income, average monthly income from the full-time job, consumer debt that must be paid monthly, and liabilities from the purchase of assets, and those influencing factors with a statistical significance level of 0.05 were number of family members and job positions as government employees and permanent employeesen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.54 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons