Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัญชลี ใจกล้า-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T04:34:27Z-
dc.date.available2023-09-13T04:34:27Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9457-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะส่วนบุคคลของผู้ป่วยในที่ใชบริการ ของโรงพยาบาลกรุงเทพระยอง (2) ศึกษาระดับความพึ่งพอใจของผู้ป่วยในที่มีต่อบริการของโรงพยาบาล กรุงเทพระยองและ (3) เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ป่วยในที่มีต่อบริการของโรงพยาบาลกรุงเทพ ระยองจำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้ประชากรคือผู้ป่วยในของโรงพยาบาลกรุงเทพระยองเฉลี่ยเดือนละ3,132 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 355 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน การศึกษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 1-30 กันยายน 2556 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนาได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมานได้แก่ สถิติทดสอบทีการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ป่วยในของโรงพยาบาลกรุงเทพพระยองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายระหว่าง 31-40 ปี เป็นผู้ที่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท มีรายได้ของครอบครัวต่อเดือนน้อยกว่า 30,000 บาท เป็นผู้ที่มีถิ่นที่อยู่อาศัยในเขตอำเภอเมืองระยอง เป็นผู้ที่ใช้สิทธิคุ้มครองการรักษาจาก สวัสดิการบริษัท (2) ผู้ป่วยในมีความพึงพอใจต่อบริการของโรงพยาบาลกรุงเทพระยองในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก และทุกด้านอยู่ในระดับมากโดยลำดับแรกคือด้านบุคลากรผู้ให้บริการ รองลงมาคือด้าน ลักษณะทางกายภาพ ด้านผลิตภัณฑ์ หรือการให้บริการ ด้านสถานที่หรือการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการ ให้บริการ ด้านการส่งเสริมการตลาดและลำดับสุดท้ายคือด้านราคา (3) ผู้ป่วยในที่มีเพศแตกต่างกันมีความ พึงพอใจต่อบริการของโรงพยาบาลกรุงเทพระยองแตกต่างกันในด้านการส่งเสริมการตลาด ผู้ป่วยในที่มี ช่วงอายุแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อบริการของโรงพยาบาลกรุงเทพระยอง แตกต่างกันในด้านการ ส่งเสริมการตลาดและด้านลักษณะทางกายภาพ ผู้ป่วยในที่มีอาชีพแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อบริการ ของโรงพยาบาลกรุงเทพระยองแตกต่างกันในด้านผลิตภัณฑ์ หรือการให้บริการ ด้านสถานที่หรือการจัด จําหน่าย ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านบุคลากรผู้ให้บริการอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ส่วนผู้ป่วยในที่มีรายได้ของครอบครัวต่อเดือน ถิ่นที่อยู่อาศัย สิทธิคุ้มครอง การรักษาแตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่อบริการของโรงพยาบาลกรุงเทพระยองไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลกรุงเทพระยอง--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้ป่วยในที่มีต่อบริการของโรงพยาบาลกรุงเทพระยองth_TH
dc.title.alternativeInpatient's satisfaction on service of Bangkok Hospital Rayongth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study personal characteristics of inpatients of Bangkok Hospital Rayong; (2) to study inpatient’s satisfaction level on service of Bangkok Hospital Rayong; and (3) to compare inpatient’s satisfaction on service of Bangkok Hospital Rayong by personal characteristics. The population of this study was 3,132 inpatients per month of Bangkok Hospital Rayong and 355 of them were samples. The research tool was a questionnaire which used to gather data during September 1-30,2013. Data analysis included percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and least significant difference. The study showed as follows: (1) inpatients of Bangkok Hospital Rayong were mostly female, 31 to 40 -year-old age, corporation employees, lower than 30,000 baht monthly income, living in Muang Rayong District and had rights of treatment from their companies’ welfare; (2) overall inpatient’s satisfaction level on service of Bangkok Hospital Rayong was at high level. Considering by aspect, it was found that all aspects were at high level which the first aspect was people followed by physical evidence, product, place, process, promotion and price aspects respectively; (3) the inpatients with different sex had different satisfaction on service of Bangkok Hospital Rayong in promotion aspect while the inpatients with different age had different satisfaction on service in promotion and physical evidence aspect and the inpatients with different occupation had different satisfaction on service in product, place, physical evidence, process and people aspects at .05 statistically significant level. However, the inpatients with different monthly income, district and rights of treatment had no different satisfaction on service of Bangkok Hospital Rayongen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140483.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons