Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9471
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีปth_TH
dc.contributor.authorจารุณี พงค์เพชรth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T07:56:38Z-
dc.date.available2023-09-13T07:56:38Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9471en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความเสี่ยงของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ใน 4 ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบและ (2) เสนอแนวทางพัฒนาในการบริหารความเสี่ยงของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ด้านการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิจัยเอกสาร แบบประเมินความเสี่ยงการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องที่ปฏิบัติงานด้านยุทธศาสตร์ ด้านการเงินและบัญชี ด้านบุคลากร ด้านพัสดุ และคณะกรรมการควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา โดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินความเสี่ยง การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่มผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความเสี่ยงของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังด้านกลยุทธ์ ที่เป็นความเสี่ยงระดับสูง ได้แก่ การกำหนดเป้าหมายและผลสำเร็จตามตัวชี้วัดไม่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ด้านการปฏิบัติงาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความเสี่ยงกระทบกระบวนการทำงานเพื่อพัฒนางานไม่ต่อเนื่อง ด้านการเงิน เป็นความเสี่ยงระดับสูงมากได้แก่ งบประมาณรายจ่ายประจำปีใช้จ่ายไม่ทันในปี งบประมาณ ความเสี่ยงระดับสูงได้แก่ แผนการใช้เงินไม่เป็นปัจจุบันหรือไม่จัดทำตามแผน การเบิกจ่ายเงินล่าช้า/ไม่เป็นไปตามแผน ด้านการปฏิบัติตามกฏระเบียบ เป็นความเสี่ยง ระดับปานกลาง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย ข้อบังคับในการปฏิบัติงาน และ (2) แนวทางที่เสนอเพื่อบริหารความเสี่ยง ได้แก่ ควรแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงเพื่อพิจารณากำหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยง รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ติดตามการปฏิบัติงาน ควรให้ความสำคัญกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และกำกับติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง ควรมีการจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการบริหารความเสี่ยงของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรังth_TH
dc.title.alternativeRisk management of Trang Provincial Health Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study was to: (1) study level of risk of Office of Public Health, Trang Province regards to 4 Parts that are strategy part, operation part, finance part, compliance part; and (2) recommend the guideline on risk management of Office of Public Health, Trang Province regards to4Parts that are strategy part, operation part, finance part, compliance part. This study was qualitative research. The methodology were documentary research, in-depth interview and group discussion. Population of this study consisted of management personnel concerning operation persons on strategy planning, finance and accounting, personnel, parcel and risk management and internal audit committee. The findings of this study were as followed: (1) the level of risk on strategy part which was high level risk was determination on target and achievement of KPI that could not be operated in actual situation. On operation part, risk analysis found that development of work was not continued. On finance part, the very high level of risk was that the annual payment budget was not paid on time of the fiscal year. The high level of risk was that the finance plan was not updated or was not established, thus the payment was late/not on time as plan. On compliance part, there was medium level of risk on officer such as not having adequate knowledge on laws and operation compliances; and (2) the guideline on risk management were recommended as followed: risk management committee should be appointed in order to determine risk management policy including promoting, supporting, checking and follow-up operation. Establishing on strategy plan should be importantly considered and continually monitoring and evaluating on work performance. And working compliances should be established in order to assist the operation to be more effective and efficient.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140968.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons