Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9476
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชฎาพร ดำมุณี, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-13T08:43:11Z-
dc.date.available2023-09-13T08:43:11Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9476-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์โครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2) เปรียบเทียบปัจจัยการประชาสัมพันธ์โครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล และ 3) ปัจจัยการประชาสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อการตอบสนองในการเข้าศึกษาต่อของผู้เรียนในระดับบัณฑิตศึกษา โครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษานี้ คือ นักศึกษาที่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและผู้ที่จบการศึกษาในโครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี รวมทั้งหมด 3,583 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) ผู้เรียนมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์โครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผู้เรียนที่มีเพศ และประเภทสถาบันที่ศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์โครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้เรียนที่มีอายุ เกรดเฉลี่ยภูมิลำเนาของผู้ศึกษา และแหล่งเงินทุนที่ใช้ในศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการประชาสัมพันธ์โครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ไม่แตกต่างกัน และ 3) ปัจจัยการประชาสัมพันธ์ด้านการใช้สื่อเฉพาะที่เป็นเอกลักษณ์ขององค์การ มีอิทธิพลทางบวกต่อการตอบสนองในการเข้าศึกษาต่อของผู้เรียนในระดับบัณฑิตศึกษาโครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คิดเป็นร้อยละ 86.90 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectวิศวกรรมเคมี--การศึกษาต่อ--การประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleอิทธิพลการประชาสัมพันธ์ที่มีต่อการตอบสนองในการเข้าศึกษาต่อของผู้เรียนในระดับบัณฑิตศึกษา : กรณีศึกษาโครงการทักษะวิศวกรรมเคมีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีth_TH
dc.title.alternativeInfluence of public relation towards the decision to study in the chemical engineering practice School Program at Monhkut's University of Technology Thonburien_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1) study the level of opinions on public relation of the Chemical Engineering Practice School (ChEPS) Program of King Mongkut's University of Technology Thonburi (KMUTT); 2) compare factors of the public relation classified by personal characteristics; and 3) investigate factors influencing the decision to study in the ChEPS program. The population of this survey research consisted of 3,583 students who were studying in the 4th year at KMUTT and ChEPS alumni determined the sample size by using Taro Yamane's formula. The 400 sampling was selected by accidental sampling method. A questionnaire was used as a tool to collect data. The statistics employed for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance and multiple regression analysis. The results of this study revealed that 1) students had the highest level of opinions on the public relation of the ChEPS program at KMUTT; 2) the 4th year students and the ChEPS alumni who had different genders and type of institutions had different opinions on public relation of ChEPS Program of KMUTT with a statistical significance at 0.05, while the 4th year students and the ChEPS alumni who had different age, grade average, hometown, and funding resources had no different opinions on public relation of ChEPS Program of KMUTT, and 3) public relation factor of using the specific media that were unique to the organization had a positive influence on the decision to study in ChEPS, which was 86.90 percent, with a statistical significance at 0.05 levelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons