Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐนรี ทองแก้ว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T02:40:03Z-
dc.date.available2023-09-14T02:40:03Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9483-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาองค์การ สู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักพระราชวัง (2) เปรียบเทียบความคิดเห็น ของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนัก พระราชวัง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางเสริมสร้างการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักพระราชวัง การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรได้แก่ข้าราชการในสังกัดสำนักพระราชวังจำนวน 2,478 คน กลุ่มตัวอย่าง 335 คน โดยใช้ตารางของเครซี่และมอร์แกน เครื่องมือ ได้แก่ แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือการนำองค์การ และการจัดการกระบวนการ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (2) เมื่อเปรียบเทียบความ คิดเห็นของบุคลากร พบว่า ผู้ที่มีระดับการศึกษา อายุราชการ และตำแหน่งราชการประเภททั่วไปในระดับที่ แตกต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 (3) ข้อเสนอแนะสำคัญได้แก่ 1) ควรให้ ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้มากยิ่งขึ้นกว่าเดิม 2) ควรจัดการฝึกอบรมให้ความรู้กับ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในการให้บริการข้อมูลเพื่อการให้บริการที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน 3) ควรมีการจัดระบบ การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4) ควรจัดอบรมในเรื่องการจัดการความรู้ และ เรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสมและต่อเนื่อง 5) ควรจัดการเผยแพร่ความรู้ภายในองค์กรอย่างทั่วถึง 6) ควรจัดทำระบบการจัดเก็บความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ให้เป็นระบบ สามารถนำมาใช้ได้ทันต่อเวลา และเข้าถึง ได้ง่าย 7) ควรประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยความเป็นธรรม 8) ควรมีระบบการคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และเหมาะสมกับงาน และ 9) ควรมีการวิเคราะห์การวางแผน การปฏิบัติ การประเมินผล และ การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องทุกกระบวนการ ซึ่งจะส่งผลให้สำนักพระราชวังมีการดำเนินงานที่เป็นระบบ ง่ายต่อการติดตามและประเมินผล และส่งผลให้สำนักพระราชวังมีผลการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักพระราชวัง--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectการบริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักพระราชวังth_TH
dc.title.alternativeOfficial opinions on the development to high performance organization in accordance with public management quality award criteria of Royal Household Bureauth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to (1) study the officials’ opinions toward the organization development to high performance organization according to public management quality award criteria of Royal Household Bureau (2) compare the officials’ opinion toward the organization development to high performance organization according to public management quality award criteria of Royal Household Bureau classified by personal factors (3) suggest the guideline for the organization development to high performance organization according to public management quality award criteria of Royal Household Bureau. The study was a survey research. Population consisted of 2,478 officials working in Royal Household Bureau, from which samples of 335 were obtained via R. V. Krejcie and D.W. Morgan tables. Questionnaire was used as an instrument. Convenient sampling method was applied. The data were statistically analyzed using frequency, percentage, means and standard deviations. The findings showed that (1) the officials’ opinion toward the organization development to high performance organization according to public management quality award criteria was at high level, with the highest mean on leadership and process management and the lowest mean on human resource management (2) when compared the opinions, those with different education levels, working years, and position levels had different opinions at 0.05 level of statistical significance (3) major recommendations were 1) more priority should be given to service recipients and stakeholders 2) officials who provided information to others should be trained so as to deliver services in same standard 3) there should be a satisfaction assessment of service recipients and stakeholders 4) training on knowledge management and other related topics should be provided to officials continuously 5) knowledge dissemination within and throughout the organization should be emphasized 6) appropriate system should be installed to store knowledge, information, news, together with work procedures, and should make it easy to use in time required, and easy to access 7) performance appraisal should be conducted fairly 8) personnel selection system should be done with care of appropriate competency, knowledge, and suitability to job 9) there should be an analysis of planning, implementation, evaluation and improvement in all process continuously, which would result in systematic performance of the Bureau, while facilitate the follow up and evaluation activities, and that would finally lead to effective and efficient operational performance of Royal Household Bureau as a wholeen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142403.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons