Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกันตวรรณ มีสมสารth_TH
dc.contributor.authorกาญจนา บุหงอ, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T02:57:53Z-
dc.date.available2023-09-14T02:57:53Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9484en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัยระหว่างได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร (2) เปรียบเทียบความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการเสริมแรงด้วยเบียอรรถกร และ (3) เปรียบเทียบความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรและระยะติดตามผล กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัยเพศหญิงและเพศชายที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี ซึ่งกำลังศึกษาระดับชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ณ โรงเรียนวัดสุทธาวาส อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 จำนวน 18 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสอบถามความต้องการตัวเสริมแรงของเด็กปฐมวัย (2) แบบบันทึกอัตราการได้รับเบี้ยอรรถกรของเด็กปฐมวัย และ (3) แบบสังเกตพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์ของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) เด็กปฐมวัยที่ได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรมีพัฒนาการความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์สูงขึ้น (2) หลังได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร เด็กปฐมวัยมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์สูงกว่าก่อนได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) หลังได้รับการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกร เด็กปฐมวัยมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมความมีวินัยในตนเองด้านความรับผิดชอบและความซื่อสัตย์แตกต่างจากระยะติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเบี้ยอรรถกร (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectวินัยของเด็ก--ไทย--สุราษฎร์ธานีth_TH
dc.titleผลของการเสริมแรงด้วยเบี้ยอรรถกรที่มีต่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe effects of token economy reinforcement on responsibility and honesty aspects of self-discipline of preschool children in Schools under Surat Thani Primary Education Service Area Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the development of responsibility and honesty aspects of self-discipline of preschool children while they were receiving token economy reinforcement; (2) to compare the levels of responsibility and honesty aspects of self-discipline of preschool children before and after receiving token economy reinforcement; and (3) to compare the levels of responsibility and honesty aspects of self-discipline of preschool children after receiving token economy reinforcement and during the follow-up period. The research sample consisted of 18 female and male preschool children, aged 5 - 6 years, who were studying in the third year kindergarten level during the first semester of the 2019 academic year at Wat Sutthawas School, Chaiya district, Surat Thani province under Surat Thani Primary Education Service Area Office 2, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were (1) a questionnaire on the need for reinforcement of preschool children; (2) a form for recording the rate of receiving token economy for preschool children; and (3) an observation form on self-discipline behavior for responsibility and honesty of preschool children. Statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the preschool children who received reinforcement with token economy had higher development level of self-discipline for responsibility and honesty; (2) after being reinforced with token economy, the preschool children’s mean score of self-discipline behavior for responsibility and honesty was higher than their counterpart mean score before receiving token economy reinforcement at the .05 level of statistical significance; and (3) significant difference at the .05 level of statistical significance was found between the preschool children’s mean score of self-discipline behavior for responsibility and honesty after being reinforced with token economy and their counterpart mean score during the follow-up period.en_US
dc.contributor.coadvisorประพนธ์ เจียรกูลth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons