Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9507
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิวัฒน์ จตุรัส, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T06:55:24Z-
dc.date.available2023-09-14T06:55:24Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9507-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไป 2) สภาพการผลิตข้าวหอมมะลิ 3) ความรู้และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะการผลิตข้าวหอมมะลิตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ และ 5) ความต้องการการส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร ประชากรที่ศึกษา คือ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวหอมมะลิและเป็นสมาชิกแปลงใหญ่แต่ยังไม่ได้การรับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ปีการผลิต 2561/2562 ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับสำนักงานเกษตรอำเภอธวัชบุรี จำนวนทั้งหมด 240 ราย กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 150 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 54.37 ปี จบประถมศึกษา ประสบการณ์ในการทำนาเฉลี่ย 22.33 ปี พื้นที่ทำนาเฉลี่ย 7.48 ไร่ ต้นทุนรวมเฉลี่ย 3,291.70 บาท/ไร่รายได้รวมจากภาคการเกษตรเฉลี่ย 85,000.00 บาท และมีหนี้สินของครัวเรือนเฉลี่ย 102,755.68 บาท 2) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่ม ดินร่วนปนทราย อาศัยน้ำฝนในการทำนา เตรียมพื้นที่โดยการไถกลบตอซัง พันธุ์ที่ปลูกคือข้าวขาวดอกมะลิ 105 โดยใช้ในอัตราเฉลี่ย 19.26 กิโลกรัม/ไร่ ใช้วิธีการปลูกแบบหว่าน มีการจัดการน้ำโดยใช้แหล่งน้ำที่สะอาดไม่ปนเปื้อนสารเคมี มีวิธีการจัดการวัชพืชในแปลงนาโดยการไถพรวน ไถกลบในช่วงเตรียมดินมีวิธีการจัดการแมลงศัตรูข้าวในแปลงนา โดยใช้น้ำหมักชีวภาพ มีวิธีการจัดการศัตรูข้าวโดยใช้หุ่นไล่นก เก็บเกี่ยว โดยรถเกี่ยว และมีการจําหน่ายโดยการขายข้าวสด และมีวิธีการเก็บข้าวในกระสอบใส่ไว้ในยุ้งฉาง 3) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตข้าวตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี โดยรวมในระดับมากที่สุดและปฏิบัติตามตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ในระดับมากโดยเก็บเกี่ยวในระยะเวลาที่เหมาะสม ใช้แหล่งน้ำที่ไม่มีการปนเปื้อนและใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตรตามคําแนะนําของกรมการข้าวหรือกรมวิชาการเกษตร และคำแนะนําในฉลากที่ขึ้นทะเบียนอย่างถูกต้อง 4) เกษตรกรมีปัญหาด้านตลาดการส่งออก และเสนอให้ควรมีการส่งเสริมการแปรรูปข้าวเพื่อสร้างมูลค่าข้าว 5) เกษตรกรต้องการให้หน่วยงานรัฐส่งเสริมการตลาดและสนับสนุนงบประมาณเพื่อการลดต้นทุนการผลิตth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวหอมมะลิ--มาตรฐานการผลิตth_TH
dc.subjectการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการผลิตขาวหอมมะลิตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีของเกษตรกร อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ดth_TH
dc.title.alternativeExtension guidelines of jasmine rice production according to good agricultural practices of farmers in Thawat Buri District, Roi Et Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) general conditions 2) the production conditions of jasmine rice variety 3) knowledge and good agricultural practices 4) problems and suggestions about the production conditions of jasmine rice in compliance with good agricultural practice and 5) requirement of the farmers for the extension in the production of jasmine rice in compliance with good agricultural practice. The population of this study was 240 farmers who had registered as jasmine rice growers with Thawat Buri district agricultural office. They were also the members of collaborative farms but were not GAP qualified in the production year 2018/2019. The sample size of 150 persons was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.05 and simple random sampling method. Data were analyzed by using frequency distribution, percentage, minimum value, maximum value, standard deviation and content analysis. The results showed that 1) most of the farmers were male with the average age of 54.37 years. They completed primary education and had the average number of years of experience in rice farming of 22.33 years. Their average farm size for rice production was 7.48 rai. Their average rice production cost was 3,291.70 baht/rai. Their average income from agricultural sector and average household debt were 85,000.00 and 102,755.68 baht, respectively. 2) Most of the cultivating land was lowland with sandy loam soil texture. They grew rice under rainfed conditions. Soil preparation was done by using rice straw incorporation method. They broadcasted rice seeds variety Kao Dawk Mali 105 at the rate of 19.26 kg/rai. Water management was done by using clean water with no chemical contamination. Weed control was done by using cultivation method. Bio extracts were used to control insect pests of rice. Scarecrows were used to repel birds in the rice fields. Combine harvesters were used to harvest rice. The farmers sold high moisture paddy rice. Rice was put in bags made from jute before storage in the barns. 3) In the overview, the farmers knew about rice production in compliance with GAP at highest level and practiced at high level. Harvest was done at an appropriate stage. Water usage from uncontaminated water source. Hazardous agricultural chemicals were used by following the recommendations of the Rice Department’s or the Department of Agriculture and the labels on registered products. 4) Markets and export were the farmers’ problems so they suggested the extension in rice processing for value added. 5) The farmers’ requirement from the government agencies were the extension in marketing and financial support to reduce production costsen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons