Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแคทลีน หอมวิเชียร, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T07:14:23Z-
dc.date.available2023-09-14T07:14:23Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9511-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและสภาพเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) สภาพการผลิตเกลือทะเลตามการปฏิบัติทางเกษตรที่ดีของเกษตรกร 3) ปัญหาในการผลิตเกลือทะเลของเกษตรกร 4)ความต้องการและแนวทางส่งเสริมการผลิตเกลือทะเลของเกษตรกร ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) เกษตรกรผู้ทํานาเกลือทะเลในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 158 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรทาโร ยามาเน ความคลาดเคลื่อน 0.05 ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 113 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ 2) ผู้เกี่ยวข้องกับการผลิตเกลือทะเลในพื้นที่ รวม 10 ราย สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ประกอบด้วย นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ประธานสหกรณ์นาเกลือทะเลจังหวัดสมุทรสงคราม ผู้นําชุมชนที่เป็นเกษตรกรนาเกลือทะเล เกษตรกรปราดเปรื่อง และเกษตรกรรุ่นใหม่เก็บข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก และกำหนดกลยุทธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรเป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 59.20 ปี ประสบการณ์การทํานาเกลือเฉลี่ย 29.89 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา เป็นสมาชิกสหกรณ์นาเกลือ ได้รับข้อมูลข่าวสารจากเกษตรกรด้วยกัน และการประชุมมีรายได้จากการทำนาเกลือเฉลี่ย 6,405.45 บาท/ไร่ และต้นทุนเฉลี่ย 5,253.15 บาท/ไร่ โดยค่าแรงหาบเกลือเป็นต้นทุนที่สูงที่สุด มีพื้นที่ทำนาเกลือทะเลเฉลี่ย 45.86 ไร่ ไม่มียังเก็บเกลือทะเล ผลผลิตเฉลี่ย 7.84 เกวียน/ไร่ (1 เกวียน เท่ากับ 1,920 กิโลกรัม) มีพ่อค้าคนกลางมารับ 2) เกษตรกรผลิตเกลือทะเลตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในระดับมากที่สุด ยกเว้นการจัดการการล้าง/โม่บด และการบรรจุและระบบเอกสารและการบันทึกข้อมูลปฏิบัติในระดับน้อย และปานกลาง 3) เกษตรกรประสบปัญหาจากผลกระทบการนําเข้าเกลือ และราคาเกลือผันผวน 4) เกษตรกรมีความต้องการให้ส่งเสริมความรู้ โดยผ่านการอบรมหรือสาธิต ฝึกปฏิบัติ และศึกษาดูงาน จากเจ้าหน้าที่รัฐเกษตรกร และสื่ออินเตอร์เน็ตหรือแอปพลิเคชันแนวทางการส่งเสริมการผลิตเกลือทะเลของเกษตรกร ใช้กลยุทธ์เชิงรุก คือ ส่งเสริมการผลิตเกลือทะเลตามมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี กลยุทธ์เชิงแก้ไข คือ พัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกร กลยุทธ์เชิงป้องกัน คือ ส่งเสริมการแปรรูปเพิ่มมูลค่าผลผลิต และกลยุทธ์เชิงรับ คือ แก้ไขปัญหาราคาเกลือตกต่ำth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเกลือ--ไทย--สมุทรสงคราม--การผลิตth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการผลิตเกลือทะเลในอำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงครามth_TH
dc.title.alternativeExtension guideline in sea salt production in Mueang Samut Songkhram District, Samut Songkhram Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) basic social and economic conditions of the sea salt farmers 2) sea salt production conditions of the farmers 3) problems in sea salt production of the farmers 4) requirements and extension guidelines for sea salt production of the farmers. The population of this study consisted of 2 groups as follows: 1) 158 sea salt farmers in Mueang Samut Songkhram district, Samut Songkhram province. The sample size of 113 farmers was determined by using simple random sampling method. Data were collected by conducting interview and were analyzed by using statistics such as frequency distribution, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation and ranking. 2) 10 individuals who were related with sea salt production in the area were selected by using purposive sampling method. They consisted of agricultural extensionist, chief of Samut Songkhram sea salt farming cooperative, smart farmers, and young smart farmers. Data were collected by conducting focus group and were analyzed by using internal and external environment and strategic planning. The results showed that 1) the farmers were male with the average age of 59.20 years. The average number of years of experience in sea salt farming was 29.89 years. They completed primary education and were members of sea salt farm cooperatives. They obtained information from the other farmers and meetings. Their average income and cost from sea salt production were 6,405.45 and 5,253.15 baht/rai, respectively. The highest production cost was to pay for salt carrying by the salt field workers. The average farm size and yield were 45.86 rai and 7.84 cart/rai (1 cart = 1,920 kg), respectively. They had no storage warehouse and the salt yields were sold to the middlemen. 2) Farmers produced sea salt according to good agricultural practice at the highest level except for the process of cleaning/milling/grinding and packaging which was at the low level while documentation system and practice data recording were at the moderate level. 3) Farmers faced with the problems from the impact of sea salt import and salt price fluctuation. 4) Farmers wanted to receive the extension knowledge through training or demonstration, practice, and field trips from governmental agricultural officers, farmers, and internet media or application. Regarding the extension guidelines in sea salt production of farmers, the SO strategy was to encourage sea salt production according to GAP standard, the WO strategy was to improve production potential of farmers, the ST strategy was to promote product processing to add value to the products, and the WT strategy was to solve the problem of low salt priceen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons