Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9524
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.author | เกรียงศักดิ์ ปินตาธรรม, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-15T01:47:42Z | - |
dc.date.available | 2023-09-15T01:47:42Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9524 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐานความปรกติใหม่ (2) ปัจจัยด้านบุคคลของผู้ปฏิบัติงานและปัจจัยด้านองค์การ (3) อิทธิพลของปัจจัยด้านบุคคลของผู้ปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านองค์การ ต่อการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินฯ และ (4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในมุมมองของผู้ปฏิบัติงานการแพทย์ฉุกเฉินฯ ในจังหวัดเชียงราย การวิจัยเป็นแบบสำรวจเชิงวิเคราะห์ ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้ปฏิบัติงานในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดเชียงราย จำนวน 2,504 คน กลุ่มตัวอย่างที่คำนวณได้ 300 คน ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามประเภทของผู้ปฏิบัติงาน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามความเที่ยงระหว่าง 0.70-0.92 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) การปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐานความปรกติใหม่ ในจังหวัดเชียงราย อยู่ในระดับปฏิบัติทุกครั้ง (2) ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าผู้ปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จบการศึกษาปริญญาตรี ตำแหน่งอาสาสมัครปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ สังกัดโรงพยาบาล ทํางานหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินระดับพื้นฐาน ค่ามัธยฐานของอายุ 30 ปี ประสบการณ์การทํางาน 5 ปี ภาระงาน 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ส่วนปัจจัยด้านองค์การ ได้แก่ การวางแผนองค์การ การจัดการองค์การ การจัดการด้านบุคลากร การควบคุมสั่งการ การประสานงาน การรายงานการจัดการงบประมาณ การสนับสนุนการสื่อสารและการจัดการสารสนเทศ อยู่ในระดับมาก (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐานความปรกติใหม่ ในจังหวัดเชียงราย มี 8 ตัวแปร เรียงจากอิทธิพลเชิงบวกจากมากไปน้อย ได้แก่ ความสามารถและทักษะในการดูแลผู้ป่วย ปัจจัยองค์การด้านการวางแผนองค์การด้านการรายงาน ด้านการจัดการ ด้านสารสนเทศ ด้านการสนับสนุน ด้านการสื่อสาร และปัจจัยส่วนบุคคลเพศหญิง ตามลำดับ ส่วนปัจจัยองค์การด้านการจัดการงบประมาณมีอิทธิพลเชิงลบ โดยร่วมกันทำนายคะแนนการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินตามมาตรฐานความปรกติใหม่ได้ ร้อยละ 65.6 และ (4) ปัญหาในมุมมองของผู้ปฏิบัติที่สําคัญ คือ ขาดการสนับสนุนที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานและการเข้าไม่ถึงการอบรม จึงเสนอแนะให้องค์การสนับสนุนอุปกรณ์ที่จําเป็นให้เพียงพอ และกระจายการอบรมให้ทั่วถึง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน--ไทย--เชียงราย--มาตรฐาน. | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน ตามมาตรฐานความปรกติใหม่ ในจังหวัดเชียงราย | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting emergency medical service operations according to the new normal standards in Chiang Rai Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives were: (1) to study practice of emergency medical service (EMS) according to the new normal standards; (2) to explore personal factors and organizational factors; (3) to identify the influence of personal factors and organizational factors; and (4) to determine problems and recommendations from the perspective of EMS practitioners, in Chiang Rai province. This study was an analytical survey conducted in a sample of 300 EMS personnel selected using stratified random sampling out of 2,504 EMS practitioners in Chiang Rai province, based on the calculated sample size of 300. The data collection tool was a questionnaire with the accuracy value of 0.70-0.92. Data was analyzed using descriptive statistics and multiple regression analysis. The results showed that: (1) the practice of EMS according to the new normal standards in Chiang Rai province was at the practical level every time; (2) regarding personal factors, most of the EMS personnel were male, graduated with a bachelor's degree, had emergency medical responder positions at a hospital, worked at basic life support level, and had median age of 30 years and 5 years work experience with 50 hours workload per week; the organizational factors, including organization planning, organization management, personnel management, command, coordination, reporting, financial management, support, communication, and information management, were at a high level; (3) factors influencing EMS practice according to the new normal standards included eight variables, ranked from highest to lowest positive influence, i.e. competence and skills in patient care, organizational factors in organizational planning, reporting, information management, support, communication and female factors, respectively; the organizational factors in terms of financial management had a negative influence; and they could predict 65.6% of EMS practice scores based on the new normal standards; and (4) the problem identified was a lack of essential support and access to training. It is thus recommended that organization support (necessary and adequate equipment) and thorough training opportunities should be provided | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เอกพล กาละดี | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License