Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9530
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระวุธ ธรรมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐนันท์ ฤทธิ์สำเร็จ, 2536- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-09-15T02:34:32Z | - |
dc.date.available | 2023-09-15T02:34:32Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9530 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล การทำงาน และชีวิตความเป็นอยู่ (2) ภาวะหมดไฟในการทำงาน และ (3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล การทํางาน ชีวิตความเป็นอยู่ต่อภาวะหมดไฟในการทํางานของบุคลากรในโรงพยาบาลเอกชน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาลหรืองานบริการทางการแพทย์ ในโรงพยาบาลเอกชน 4 แห่ง จํานวน 348 คน จากทั้งหมด 2,211 คน คำนวณขนาดตัวอย่างสําหรับวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุของ Cohen (1988) และทําการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถามทั้งหมด 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล การทํางาน และแบบวัดภาวะหมดไฟในการทํางานมีค่าความเที่ยง 0.89 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2563 ถึงมกราคม 2564 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรในโรงพยาบาลเอกชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 32.45 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี อายุการทํางานน้อยกว่า 10 ปี ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับปานกลาง มีความสนิทสนมรักใคร่กันดี สถานภาพทางเศรษฐกิจพบว่ามีรายจ่ายมากกว่ารายได้และมีหนี้สิน (2) ระดับภาวะหมดไฟในการทํางานส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ทั้งด้านความอ่อนล้าทางอารมณ์ การลดค่าความเป็นบุคคล และการลดความสําเร็จส่วนบุคคล และ (3) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะหมดไฟในการทํางาน คือ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทํางาน ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน การเคยคิดลาออกจากอาชีพ ความเพียงพอของการมีเวลาส่วนตัว และสถานภาพทางเศรษฐกิจ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ซึ่งสามารถร่วมกันอธิบายการแปรผันตามการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ได้ร้อยละ 33.40 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์--ความเครียดในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลเอกชน--ไทย--ชลบุรี--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะหมดไฟในการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาลเอกชน อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to burnout syndrome of personnel in private hospitals, Mueang Chon Buri District, Chon Buri Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This cross-sectional research aimed to study: (1) personal, work and living factors; (2) burnout syndrome; and (3) influence of personal, work and living factors on burnout syndrome of personnel at 4 private hospitals in Chon Buri province’s Mueang district. The study involved a sample of 348 medical care personnel systematically selected out of all 2,211 such personnel working at 4 private hospitals in Mueang Chon Buri district; the sample size was calculated for analyzing Cohen's multiple regression equations (1988). Data were collected using a three-part questionnaire covering personal data, work factors and Maslach Burnout Inventory assessment (MBI) with the reliability value of 0.89 between November 2020 and January 2021; and data analysis was performed for quantitative data to determine frequencies, percentages, means, standard deviations, and multiple linear regression. The results indicated that, among the study participants: (1) most of the private hospital personnel were female with a mean age of 32.45 years, graduated with a bachelor's degree, and had less than 10 years of service; they had working satisfaction at a moderate level, close relationship, and were indebted as their expenditure was higher than income; (2) most of the burnout levels were low in all three dimensions (emotional exhaustion, depersonalization and diminished personal accomplishment); and (3) factors significantly related to burnout syndrome were education level, work experience, performance satisfaction, resignation thoughts, personal time and economic status (P = 0.05); all of which could explain 33.40% of the conditions according to a multiple regression analysis | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปกกมล เหล่ารักษาวงษ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License