Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดวงสุดา เขียวโมรา, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T02:45:00Z-
dc.date.available2023-09-15T02:45:00Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9533-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กำหนดขั้นตอนในการประเมินผู้ส่งมอบ (2) กำหนดเกณฑ์ในการประเมินผู้ส่งมอบ (3) กำหนดขั้นตอนและเกณฑ์การตรวจติดตามผู้ส่งมอบ วิธีการศึกษารวบรวมเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่แผนกจัดซื้อ เจ้าหน้าที่ แผนกควบคุมการผลิต และเจ้าหน้าที่แผนกตรวจสอบคุณภาพ ในบริษัท ไอทีฟอร์จิ้ง (ประเทศไทย) จำกัด จำนวน 5 คน และข้อมูลทุติยภูมิจาก ตำราทางวิชาการเกี่ยวกับหลักการจัดซื้อ วารสารเกี่ยวกับระบบ บริหารคุณภาพและระเบียบปฏิบัติของบริษัท ผลการศึกษาพบว่า (1)กำหนดขั้นตอนการประเมินผู้ส่งมอบโดยเริ่มจากการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่เพื่อความชัดเจนในการปฏิบัติงาน รวบรวมข้อมูลต้านคุณภาพ การส่งมอบ คุณภาพ ราคา ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมจากแผนกที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำการประเมินผู้ส่งมอบและทำการสรุปผล ดำเนินการแจ้งผลการประเมินไปยังผู้ส่งมอบเพื่อพัฒนาคุณภาพต่อไป ทั้งนี้ได้กำหนดขั้นตอน ในการปฏิบัติสำหรับผู้ส่งมอบที่มีผลคะแนนอยู่ตํ่ากว่าเกณฑ์ที่กำหนดซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กรณี โดยใช้ ระยะเวลาในการแก้ไขเป็นตัวกำหนด (2) กำหนดเกณฑ์การประเมินผู้ส่งมอบออกเป็น 4 หัวข้อหลักคือ 1.คุณภาพ 2.การส่งมอบ 3.การปรับราคา 4.ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม โดยคะแนนจะกำหนด ตามลำดับความสำคัญของแต่ละหัวข้อ ทั้งนี้ได้กำหนดวิธีการคำนวนโดยใช้สูตรในการหาคะแนนในแต่ ละหัวข้อเพื่อตัดเกรดในการประเมินผู้ส่งมอบ (3) กำหนดขั้นตอนและเกณฑ์การตรวจติดตามผู้ส่งมอบ โดยเริ่มจากการแจ้งข้อมูลไปยังผู้ส่งมอบเพื่อการตรวจติดตามโดยการเยี่ยมชมโรงงานผู้ส่งมอบ รวบรวม ข้อมูลเพื่อการตรวจติดตาม ทำการตรวจติดตามผู้ส่งมอบตามเวลาและหัวข้อที่กำหนด พร้อมทั้งจัดทำ รายงานผลการตรวจติดตามโดยการเสนอแนะและให้ผู้ส่งมอบแจ้งแนวทางการแก้ไขกลับ ซึ่งเกณฑ์ที่ใช้ ในการตรวจติดตามเป็นเกณฑ์เกี่ยวกับระบบคุณภาพที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์แบ่งออกเป็น 12 หัวข้อ ทั้งนี้ได้กำหนดวิธีการคำนวนหาระดับเกรดโดยแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือประเมินทุกหัวข้อและประเมินในบางหัวข้อth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectบริษัทไอทีฟอร์จิ้ง (ประเทศไทย) จำกัดth_TH
dc.titleคู่มือการประเมินผู้ส่งมอบของบริษัทไอทีฟอร์จิ้ง (ประเทศไทย) จำกัดth_TH
dc.title.alternativeSupplier evaluation manual of IT Forging (Thailand) Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128347.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons