Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9534
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรเดช มโนลีหกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสาธิตา วิมลคุณารักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑามาศ นันทโพธิเดช, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T02:50:28Z-
dc.date.available2023-09-15T02:50:28Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9534-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.(กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงแนวความคิด ทฤษฎี ความเป็นมา และหลักการความรับผิดทางอาญาของผู้ควบคุมอากาศยานและผู้ควบคุมจราจรทางอากาศ (2) ศึกษาถึงแนวทางการกําหนดความรับผิดทางอาญาและการสืบสวนสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากอากาศยานภายใต้ ประมวลกฎหมายอาญา และกฎหมายการเดินอากาศของประเทศไทย (3) ศึกษาเปรียบเทียบถึงแนวทางการกำหนดความรับผิดทางอาญาและการสืบสวนสอบสวนในอุบัติเหตุที่เกิดจากอากาศยาน ตามกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และแคนาดา กับประมวลกฎหมายอาญา และกฎหมายการเดินอากาศของประเทศไทย และ (4) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนากฎหมายในการกําหนดความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดจากอากาศยานไทย งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยทางเอกสาร โดยการศึกษาจากพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 กฎระเบียบ ข้อบังคับ อนุสัญญา แนวทางปฏิบัติที่ดีในการพิจารณาพิพากษาคดี บทความวารสาร เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า (1) เมื่อมีการเดินทางโดยเครื่องบินมากขึ้น สิ่งที่ตามมาคืออุบัติเหตุที่เกิดจากอากาศยาน ส่งผลให้นานาประเทศตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างแนวปฏิบัติร่วมกันทําให้เกิดองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตามมาด้วยอนุสัญญาชิคาโก (2) หลักการสอบสวนอุบัติเหตุที่เกิดจากอากาศยานตามอนุสัญญาชิคาโก มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและอุบัติการณ์ (3) จากการศึกษาเปรียบเทียบพบว่าศาลไทย สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และแคนาดาวินิจฉัยความรับผิดของผู้ควบคุมอากาศยานและผู้ควบคุมจราจรทางอากาศในอุบัติเหตุรูปแบบเดียวกันแตกต่างกันออกไปกระบวนการพิจารณาคดีของประเทศสหรัฐอเมริกานั้นได้นำหลักนักบินผู้ควบคุมอากาศยานจะต้องรับผิดชอบในขั้นต้นตามอนุสัญญา คาโก แต่ศาลของประเทศออสเตรเลีย แคนาดา และไทยใช้หลักความรับผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาบังคับใช้กับนักบินหรือผู้ควบคุมจราจรทางอากาศ ในส่วนของการกระทำโดยเจตนาและประมาทเลินเล่อ (4) ควรมีการกําหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดของผู้ควบคุมอากาศยานและผู้ควบคุมจราจรทางอากาศให้ชัดเจนเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความรับผิดทางอาญาth_TH
dc.subjectความรับผิดสำหรับอุบัติเหตุอากาศยานth_TH
dc.titleความรับผิดทางอาญาเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดจากอากาศยานth_TH
dc.title.alternativeCriminal liability in aircraft accidentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research has the objectives to: (1) Study concepts, theories, backgrounds and principles of criminal liability of pilot and air traffic controllers, (2) study the approach to investigating accidents caused by aircraft under the Criminal Code and the Air Navigation Act of Thailand, (3) To study and compare the law of investigative and judgment and the laws of the United States, Australia and Canada with the criminal code and the Air Navigation Act of Thailand to determine criminal liability for accidents caused by aircraft under international agreements, and (4) suggest ways to improve and develop criminal prosecution of aircraft accidents. The research conducted herein is Qualitative Research and includes documentary research by collecting data from Air Navigation Act, B.E.2479 (1954), rules, regulations, verdicts, conventions, articles, journals, academic documents, research papers, thesis regarding audit committee of Thailand and abroad. The findings revealed that (1) When there is more travel by plane What followed was an aircraft accident. As a result, many countries are aware of the importance of creating common practice guidelines to create the International Civil Aviation Organization. followed by the Chicago Convention. (2) The Chicago Convention, The objective of the investigation of an accident or incident shall be the prevention of accidents and incidents. (3) A comparative study found that judicial proceedings in the United States led pilots to be Primary Liability under the Chicago Convention but the courts of Australia, Canada and Thailand apply the principles of criminal liability to pilots or air traffic controllers. on the part of intentional and negligent acts (4) It is therefore appropriate to clearly define the powers, duties and liability of pilot and air traffic controllers for the effectiveness and efficiencyen_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.19 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons