Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/953
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorฉกาจ พรหมดีสาร, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-23T07:41:41Z-
dc.date.available2022-08-23T07:41:41Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/953-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม. (การเมืองการปกครอง))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จในการเลือกตั้งนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ของนายแพทย์สำเริง แหยงกระโทก โดยศึกษากรณีการเลือกตั้ง วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 การวิจัยนี้ใช้การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพประกอบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ ทำการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้สมัคร การจัดสนทนากลุ่มย่อย การสังเกตการณ์และการวิจัยเอกสารประกอบ โดยมี กลุ่มประชากรตัวอย่าง จำนวน 3 กลุ่ม คือ ผู้สมัครรับเลือกตั้ง 1 คน คู่แข่งในการเลือกตั้ง 2 คน และทีมงาน สนับสนุนในการหาเสียง 40 คน นำเสนอข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่ม ประชากร คือ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งใช้วิธีคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มอาชีพ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์โดยหาค่าสถิติร้อยละและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วน จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2551 ได้แก่ ปัจจัยภายใน ซึ่งประกอบด้วย 1. ภูมิหลังและคุณสมบัติของ นพ. สำเริง แหยงกระโทก คือ ด้านประวัติชีวิตและครอบครัว ด้านการประกอบวิชาชีพแพทย์ ด้านผลงานทางวิชาการ ด้านการบริหารพัฒนาบุคลากร/หน่วยงาน ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน/ชุมชน 2. นโยบายของผู้สมัครที่ใช้ในการหาเสียง คือ การให้เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและการเพิ่มค่าตอบแทนรายเดือนให้กับอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน 3. ทุนสนับสนุนในการหาเสียงที่ใช้ คือ ทุนทางสังคมคือความน่าเชื่อถือเป็นที่รักเคารพและศรัทธา ของประชาชน 4. ทีมงานสนับสนุนในการหาเสียง คือ ทีมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและทีมผู้นำท้องถิ่น 5. วิธีการสำคัญในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งที่สำคัญ คือ การใกล้ชิดเป็นกันเองกับประชาชน และ ปัจจัยภายนอก ซึ่งประกอบด้วย 1. คู่แข่งในการเลือกตั้ง ซึ่งเป็นอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด และผู้สมัครหน้าใหม่ที่ได้รับความนิยมอยู่ในคนจำนวนน้อยกลุ่มเดิม 2. บรรยากาศการเลือกตั้งที่ประชาชนมีความตื่นตัวทาง การเมืองสูงต้องการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง 3. การเกื้อหนุนของกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรในจังหวัด คือ นักธุรกิจและนักการเมืองท้องถิ่นให้การสนับสนุน 4. สื่อมวลชน คือ หนังสือพิมพ์และวิทยุให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง 5. กระบวนการจัดการเลือกตั้งของคณะกรรมการการเลือกตั้งที่มีความบริสุทธิ์ยุติธรรม ส่วนผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยภายในมีผลต่อความสำเร็จในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมามากกว่าปัจจัยภายนอกth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง -- ไทย -- นครราชสีมาth_TH
dc.titleปัจจัยความสำเร็จในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ของนายแพทย์สำเริง แหยงกระโทก กรณีศึกษาการเลือกตั้ง วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551th_TH
dc.title.alternativeFactors of success in the election campaigning of Dr. Sumreung Yangkratoke to the position of chairman of the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization : a case study of the election in the 10 February B.E. 2551th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the factors that led to the success of Dr. Sumreung Yangkratoke in being elected to the position of chairman of the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization in the election in the 10 February B.E. 2551. This research utilized both qualitative and quantitative research methods. The qualitative portion employed observation, study of related documents, in-depth interviews, and focus group discussions with 3 groups of samples, consisting of the winning candidate, 2 rival candidates, and 40 campaign workers. The results were presented using descriptive analysis. For the quantitative portion, data was collected from a sample population of 400 voters from the sample career group using a questionnaire, analyzed using percentages and presented in tables. The results showed that the factors that influenced the success of Dr. Sumreung Yangkratoke in being elected to the position of chairman of the Nakhon Ratchasima Provincial Administrative Organization in the election in the 10 February B.E. 2551 consisted of 5 internal factors and 5 external factors, as follows. Internal factors: (1) Dr. Sumreung Yangkratoke’s background, qualifications, family history, career as a physician, academic work, and work in personnel development, organization development, and developing the quality of life of people in the community; (2) The candidate’s political platform, especially the policy of giving a living allowance to the elderly and increasing the compensation rate for public health volunteers; (3) The candidate’s social capital in the form of respect, public faith and credibility; (4) The campaign workers, consisting of public health volunteers and local leaders; and (5) Campaign methods, especially the candidate’s close and informal relationship with citizens. External factors: (1) The rival candidates (the incumbent and a newcomer) had limited popularity in certain groups; (2) Most voters were very aware and the political climate favored change; (3) Members of parliament and stakeholders (business people and local politicians) supported the candidate; (4) The media (newspapers and radio) reported the new accurately; and (5) The election committee managed the election fairly and honestly. The results of the quantitative portion of the research showed that the internal factors were more important in influencing the election than the external factorsen_US
Appears in Collections:Pol-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib122417.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.46 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons