Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9550
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนัฐวรรณ เทียนสิทธิ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T06:33:13Z-
dc.date.available2023-09-15T06:33:13Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9550-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) แนวทางการจัดการความรู้ของกรมการพัฒนา ชุมชน (2) ประสิทธิผลของการจัดการความรู้กรมการพัฒนาชุมชน (3) ปัญหา อุปสรรคการจัดการความรู้ ของกรมการพัฒนาชุมชน และ (4) แนวทางในการพัฒนาการจัดการความรู้ของกรมการพัฒนาชุมชน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในส่วนกลางของกรมการพัฒนา ชุมชนจำนวนทั้งสิ้น 235 คน จากจำนวนประชากร 567คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง อย่างง่าย เครื่องมือที่ ใช้คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวน การทดสอบรายคู่ด้วยวิธีผลต่างมีนัยสำคัญ น้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) กรมการพัฒนาชุมชนได้นำแนวทางการจัดการความรู้ของสำนักงาน ก.พ.ร. มาใช้ในการจัดการความรู้ ประกอบด้วย การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัด ความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ และการเรียนรู้ (2) ประสิทธิผลการจัดการความรู้ของกรมการพัฒนาชุมชนในภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า การเรียนรู้มีประสิทธิผลมากที่สุด รองลงมาได้แก่การสร้างและ แสวงหาความรู้การเข้าถึงความรู้การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้การจัดความรู้ให้เป็นระบบการประมวล และกลั่นกรองความรู้ การบ่งชี้ความรู้ตามลำดับ (3) ปัญหาอุปสรรคในการจัดการความรู้ของกรมการ พัฒนาชุมชนเกิดจากการที่บุคลากรไม่มีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการจัดการความรู้ ไม่จัดระบบการจัดการ ความรู้ให้เป็นมาตรฐาน บุคลากรไม่มีเวลาในการจัดการความรู้เนื่องจากมีภาระงานเยอะในขณะที่ บุคลากรบางส่วนไม่ให้ความร่วมมือความรู้ที่มีไม่ได้ใช้ประโยชน์และการเข้าถึงแหล่งความรู้ทำได้ยาก เนื่องจากไม่มีการถ่ายทอด/เผยแพร่ความรู้ นอกจากนี้แม้ว่ามีคณะทำงานการจัดการความรู้แต่ไม่สามารถ ดำเนินงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ (4) แนวทางในการพัฒนาการจัดการความรู้ของกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ก) ควรมีเป้าหมายการจัดการความรู้ที่ตอบสนองต่อการแก้ปัญหาและความต้องการเรียนรู้ของคน ในองค์การ ข) ควรมีการจัดลำดับความสำคัญขององค์ความรู้ที่จำเป็นในการดำเนินงาน และ ค) ควรมีการ จัดทำรายชื่อแหล่งความรู้/ฐานข้อมูล/ฐานความรู้ที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมการพัฒนาชุมชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้th_TH
dc.titleการศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ของกรมการพัฒนาชุมชนth_TH
dc.title.alternativeA study of knowledge management development of community development departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) study the knowledge management approach of the Community Development Department (2) study the knowledge management efficiency of Community Development Department (3) study the problems and obstacle of knowledge management of Community Development Department and (4) find the effective approach to improve knowledge management of Community Development Department. The population in this study was 567 staffs of Community Development Department’s head office. Samples were 235 samples using simple random sampling. Research instruments were questionnaire. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, and multiple comparison test. The research results revealed as the followings (1) the Community Development Department had conducted the knowledge management approach from the Office of the Public Sector Development Commission ( OPDC ) which included knowledge identification, knowledge creation and acquisition, knowledge organization, knowledge codification and refinement, knowledge access, knowledge sharing and knowledge learning (2) the average of knowledge management efficiency of Community Development Department was at the middle level when classified in each part found that knowledge learning was the highest level, followed by knowledge creation and acquisition, knowledge access, knowledge sharing, knowledge codification and refinement and knowledge identification respectively (3) the problems and obstacle of knowledge management of Community Development Department found that a staffs were not having a knowledge and understanding about knowledge management, knowledge management systems were not classified as standard, a staffs did not have time to attend a knowledge management because of their workload and some people did not team up, moreover, knowledge was not utilized and resources accessing was difficult because there did not have any knowledge transferring and dissemination although, they had a knowledge management team but the team could not operate efficiently (4) the effective approach to improve knowledge management of Community Development Department intended to a) specify the goal of knowledge management as responded to solve problem and learning needs of people in the organization b) determine the knowledge management priorities for the organization that was required to perform their job operation c) perform a list of knowledge resources/databases/knowledge base that required for a job performanceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145680.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons