Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9551
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนภัสธัชณัฎฐ์ เพ็ชรบัว, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T06:35:14Z-
dc.date.available2023-09-15T06:35:14Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9551en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็ก 2) ระดับความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็ก 3) เปรียบเทียบความได้เปรียบทางการแข่งขันจำแนกตามลักษณะธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็ก และ 4) ความสัมพันธ์ขององค์การแห่งการเรียนรู้กับความได้เปรียบทางการแข่งขันการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ซึ่งประชากรที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 485 คนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 220 คน ระดับความเชื่อมั่น 9ร% สถิติที่ใช้ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบื่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้บริหารธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็กมีความคิดเห็นต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ตามทฤษฎีวินัย 5 ประการของ Senge ในแต่ละค้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงจากลำดับค่าเฉลี่ยความคิดเห็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านรูปแบบความคิด ด้านการเรียนรู้ด้านความรอบรู้ ด้านความคิดเชิงระบบ และด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วม 2) ผู้บริหารธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็ก มีความคิดเห็นต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในแต่ละด้านอยู่ในระดับมากโดยเรียงจากลำดับค่าเฉลี่ยความคิดเห็นจากมากไปหาน้อย ได้แก่ จ้านการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้านประสิทธิภาพ ด้านนวัตกรรม และด้านคุณภาพ 3) การเปรียบเทียบความได้เปรียบทางการแข่งขันจำแนกตามลักษณะธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็ก พบว่ารูปแบบธุรกิจแตกต่างกันไม่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน 4) ความสัมพันธ์ขององค์การแห่งการเรีขนรู้กับความได้เปรียบทางการแข่งขัน พบว่า องค์การแห่งการเรียนรู้มีความสัมพันธ์กับความได้เปรียบทางการแข่งขันทั้งในภาพรวมและรายด้ายย่อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธุรกิจรับเหมาก่อสร้างth_TH
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าth_TH
dc.subjectการเรียนรู้องค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleองค์การแห่งการเรียนรู้ที่มีผลต่อการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็กในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeLearning organization affecting competitive advantage of construction business SMEs in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed : 1) to study organization learning of small business construction subcontractors; 2) to study the extent of small business construction subcontractors; 3) to compare competitive advantage as classified by business types; and 4) to study the relationship of organization learning towards small business construction subcontractors . This study was a survey research. The population was 485 small business construction subcontractors. The sampling of 220 respondents was calculated by Taro Yamane with 95% level of confidence. Deceptive statistics were employed for data analysis including percentage, frequency, mean and standard deviation. The inferential statistics also utilized by one way ANOVA and Pearson Correlation coefficient. The research findings revealed: 1) the level of organization learning of small business construction subcontractors were high both in overall and by aspects ranking in order from high to low of pattern of thinking, learning knowledge, system thinking and shared vision respectively. 2) The degree of competitive advantage were high both in overall and by aspects ranking in order from high to low of customer focus, efficiency innovation, and quality respectively. 3) There was no difference in competitive advantage by business types, and 4) there is not relationship/influence between type of small business construction subcontractors and level of organizational learning.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_151904.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons