Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorน้ำทิพย์ บำเพ็ญอยู่, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-15T07:17:53Z-
dc.date.available2023-09-15T07:17:53Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9564en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิผลของการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลปากท่อ (2) เปรียบเทียบประสิทธิผลของการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลปากท่อ จำแนกตามหน่วยงานที่ให้บริการ และ (3) ศึกษาแนวทางการปรับปรุงการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลปากท่อการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการลงทะเบียนวินิฉัยจากแพทย์ว่าเป็นเบาหวาน (ข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องที่ โรงพยาบาลปากท่อจังหวัดราชบุรี ซึ่งมีจำนวนทั้งสิ้น 1,893 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 331 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามหน่วยงานที่ให้บริการและวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูลคือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิผลของการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลปากท่ออยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละมิติพบว่า มิติด้านการเงินหรือด้านเศรษฐศาสตร์มีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาอยู่ในระดับมากคือมิติด้านลูกค้าประกอบด้วย ด้านผลงานและด้านความพึงพอ ใจ และมิติด้านกระบวนการภายในหรือด้านเวลาในการดำเนินงานตามลำดับ(2) เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของการ ให้บริการ จำแนกตามหน่วยงานที่ให้บริการได้แก่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลและคลินิกเบาหวาน พบว่าประสิทธิผลของการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานโดยรวม ของทั้งสองหน่วยงานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยศูนย์สุขภาพชุมชนมีประสิทธิผลรวมมากกว่าที่คลินิกเบาหวาน อย่างมึนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) แนวทางในการปรับปรุงการให้บริการที่สำคัญคือการเพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวกในมิติด้านลูกค้า ได้แก่ที่นั่งคอยรับบริการ พื้นที่จอดรถ จำนวนเจ้าหน้าที่ และการปรับปรุงขั้นตอนการให้บริการในมิติด้านกระบวนการภายในth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลปากท่อth_TH
dc.subjectเบาหวาน--ผู้ป่วยth_TH
dc.subjectการบริการทางการแพทย์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleประสิทธิผลของการให้บริการแก่ผู้ป่วยเบาหวานโรงพยาบาลปากท่อth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of service for patients with diabetes mellitus in Paktho Hospitalen_US
dc.typethen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were : (1) to study level of effectiveness of service for patients with Diabetes Mellitus in Paktho Hospital; (2) to compare the effectiveness of services for patients with Diabetes Mellitus in Paktho Hospital by department; and (3) to study the way to improve services for patients with Diabetes Mellitus in Paktho Hospital. This study was a survey research. The population was 1,893 patients who had been diagnosed by a physician and followed up constantly at Paktho Hospital. The sample group consisted of 331 members calculated by using Taro Yamane’s formula. Sampling method was stratified random sampling and simple random sampling in each stratum. The tool for data collecting was a question questionnaire. The data analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation and independent t-test. The results showed that (1) the level of effectiveness of services for patients with Diabetes Mellitus in Paktho Hospital was at a high level. The effectiveness in economics was at the highest level, while the effectiveness in performance, satisfaction and the time of operation were at a high level, respectively (2) the comparison of effectiveness of services for patients with Diabetes Mellitus in Paktho Hospital by department found that the community health center had more effectiveness than diabetes clinic with statistically significant difference at .05 level. (3) the important way to improve the service was adding amenities include seating, parking areas, number of staff and improving process of services.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_150950.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons