Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเปมิกา ติงสมบัติยุทธ์, 2531-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T02:24:44Z-
dc.date.available2023-09-18T02:24:44Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9579en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริ โภคกาแฟในเขตจังหวัดนนทบุรี (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดของร้านกาแฟ (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนประสมการตลาด โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือผู้บริ โภคกาแฟในเขตจังหวัดนนทบุรีซึ่งไม่ทราบจำนวน การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรของ ดับเบิ้ลยู จี โคชแรนด์ ได้จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบสะควก เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม การวิเกราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือการทดสอบค่าทีและการทดสอบค่าเอฟผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคกาแฟส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 19-40 ปีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีสถานภาพ โสด มีอาชีพรับราชการ/ทำงานรัฐวิสาหกิจมีรายได้ต่ำกว่า 20,000 บาท (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมการตลาดของร้านกาแฟในระดับมากที่สุดได้แก่ปัจจัย ด้านกระบวนการ อันดับสองได้แก่ ปัจจัยด้านการสร้างและนำเสนอทางกายภาพ รองลงมาในระดับมากได้แก่ ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคาปัจจัยด้านสถานที่ และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนประสมการตลาดโดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ พบว่าปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านบุคลากร และด้านกระบวนการมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ 0.05ยกเว้นด้านสถานที่/การจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านการสร้างและนำเสนอทางกายภาพ ไม่พบความแตกต่างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกาแฟ--การตลาด.--ไทยth_TH
dc.subjectผู้บริโภค--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการบริโภคกาแฟของผู้บริโภคในเขตจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting the consumption of coffee consumers in the Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the personal factors of customers who drank coffee in Nonthaburi province; (2) to study the important level of marketing mix factors of coffee shop; and (3) to compare the difference of marketing mix factors classified by personal factors. This study is a survey research. The population is consumers who drank coffee in Nonthaburi province. The sample size was 400 customers selected by convenience sampling method and was calculated by Cochran’s formula. The data was collected by using a questionnaire and was analyzed by using percentage, means, standard deviation, t-Test and F-test. The results showed that (1) most customers were females with aged 19-40, bachelor's degree or equivalent, single, government official and state enterprise employees, salary lower than 20,000 Baht; (2) the process factor was the most important marketing mix factor and the second one was the physical factor. While the personnel, product, price, place, and promotion factors were important at the high level; and (3) product, price, personnel and process factors were different at the statistical significant 0.05 except place, promotion and physical factors were the same when compared with personal factorsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_151896.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons