Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัทธ์ธิดา ไทยแท้, 2533-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T02:54:02Z-
dc.date.available2023-09-18T02:54:02Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9582en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทัศนคติของบุคลากรที่มีต่อการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของสำนักงานส่งเสริมการปกกรองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานี(2) เปรียบเทียบทัศนติของบุคลากรที่มีต่อการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ ธานี จำแนกดามคุณลักษณะส่วนบุคคล(3) เสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ระบบเทคโนโสยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานีการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุกลากรของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน ร8 คน โคยใช้ประชากรทั้งหมดทำการศึกษาเครื่องมือที่ใช้ในการวิเตราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าที การทดสอบความแปรปรวน และการ ทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีผลต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการศึกยาพบว่า (1) ทัศนติของบุคลากรที่มีต่อการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาป็นรายด้านพบว่า ทุกด้นอยู่ในระดับมากที่สุดโดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยคือ ทัศนคติด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ ทัศนคติต้นประโยชน์ที่จะได้รับทัศนคติด้านประสิทธิภาพ และทัศนคติด้านประสิทธิภาพ (2) บุคลากรที่มีเพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับรายได้ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน แตกต่างกันมีทัศนติต่อการ ใช้ระบบสารสนเทศในการปฏิบัติงาน ไม่แตกต่งกัน ส่วนบุคลากรที่มีระดับตำแหน่งแตกต่างกัน มีทัศนคติต่อการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่แตกต่างกัน ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3)ผู้บริหารควรจัดให้มีการอบรมการใช้ระบบเทกโนโลยีสารสนเทศ และส่งเสริมให้บุคลากรมีโอกาสพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectทัศนคติth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleทัศนคติของบุคลากรที่มีต่อการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการปฏิบัติงานของสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeAttitude of personnel towards the usage of information technology system in practices of Suratthani Provincial Office forLocal Administrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1)study the personnel attitude towards the usage of information technology system in Practices of Suratthani Provincial Office for Local Administration, (2) compare the personnel attitude towards the usage of information technology system in Practices of Suratthani Provincial Office for Local Administration, divided by personal identities, and (3) recommend guidelines to increase the effectiveness of the usage of information technology system in Practices of Suratthani Provincial Office for Local Administration. Survey research was applied, with 58 subjects who were the personnel of Suratthani Provincial Office for Local Administration. The instruments to analyze the dataincluded percentage, mean, standard deviation (SD), t-test, and ANOVA testing differences in pairs .That way, the difference was statistically significant The results indicated that (1) the attitudes toward information technology system usage for working in Practices of Suratthani Provincial Office for Local Administration at the highest level. All aspects regarding this matter were also found with the highest levels, which could be sorted from most to least, namely, attitude toward tools and equipment, attitude toward benefits, attitude toward the effectiveness of the system usage. (2) personnel gender, age, marital status, education level, and work experiences did not present statistical differences regarding attitudes toward information technology system usage for working whereas different positions of personnel significantly affected the differences of such attitude at 0.05. (3) Executives should set up a training for information technology system usage, and encourage personnel to develop their knowledge and competence in term of information technology system usageen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_149998.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons