Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิพวัลย์ คุ้มเนตร, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T03:13:21Z-
dc.date.available2023-09-18T03:13:21Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9584-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพปัญหาการดำเนินการโครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของจังหวัดกาญจนบุรี (2) เปรียบเทียบสภาพปัญหาการดำเนินการโครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของจังหวัดกาญจนบุรี จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ประกอบการ และ (3) เสนอแนะแนวทางการส่งเสริมผลิตภัณฑ์ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของจังหวัดกาญจนบุรี ประชากรที่ศึกษา คือผู้ประกอบการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ของจังหวัดกาญจนบุรี ที่ได้รับการประเมินตั้งแต่ระดับ 3 ดาวขึ้นไป จำนวน 105 ราย และเจ้าหน้าที่ของรัฐ จำนวน 13 ราย รวมทั้งสิ้น 118 ราย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามผู้ประกอบการและแบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของรัฐ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ ด้วยวิธี LSD ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาการดำเนินการของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในชังหวัดกาญจนบุรี โดยภาพรวมผู้ประกอบการมีปัญหาในการดำเนินการ โครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีปัญหามากที่สุด คือด้านการเมืองและนโยบายของรัฐ รองลงมาคือ ด้านการเงิน ด้านการผลิต และ ด้านการตลาด ตามลำดับ (2) ผู้ประกอบการที่มีประสบการณ์ในการดำเนินการด้านการผลิต แตกต่างกัน มีปัญหาในการดำเนินการโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ในภาพรวมและรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้ประกอบการที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถาน ประกอบการ และผลประกอบการต่างกัน มีปัญหาในการดำเนินการไม่แตกต่างกัน และ (3) แนวทางการส่งเสริมได้แก่การสนับสนุนงบประมาณตามยุทธศาสตร์ของกรมพัฒนาชุมชนในการขยาย กิจการ การจัดให้มีงบประมาณสนับสนุนด้านการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ การสนับสนุนให้ผู้ประกอบการเล็งเห็นความสำคัญของการเขียนแผนธุรกิจ และการให้ความรู้ด้าน การบริหารจัดการเงินทุนแก่ผู้ประกอบการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์--ไทย--กาญจนบุรีth_TH
dc.titleการส่งเสริมผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของจังหวัดกาญจนบุรีth_TH
dc.title.alternativePromotion of One Tambon One Product of Kanchanaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study the problem of One Tambon One Product (OTOP) ’s operation in Kanchanaburi Province, (2) to compare the problems of One Tambon One Product ( OTOP) ’s operation divided into individual group and (3) to study the guideline for promotion the OTOP’s product in Kanchanaburi Province. The population in this study were 105 of 3 star operators and 13 government officers, totally 118 respondents. The tool were questionnaire and interview. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviations, One-way ANOVA and LSD. Result of the study were the following : (1) The problem of OTOP’s operation in Kanchanaburi Province was at a moderate level; ranking from the highest to the lowest mean : politic and government’s policy, finance, production and marketing respectively. (2) The problem comparison of OTOP’s operation in Kanchanaburi Province was found that the entrepreneur who has the different experience has differed in the problem of product development, as a whole and as a individual at statistically significant 0.05. Overall, the difference of age, education, and monthly performance of the entrepreneur, was not found. (3) The government should support the entrepreneur to focus on the business plan, supporting some budgets as the strategy plan from the Community Development Department to expand the business, providing the budget to support the product development and providing knowledge regarding to the investment and managementen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135875.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons