Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภูณิชา กุญช์วิชญาดา, 2510-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T03:38:33Z-
dc.date.available2023-09-18T03:38:33Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9588en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการที่จ้างแรงงานต่างด้าว (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างแรงงานต่างด้าว(3) เปรียบเทียบปัจจัยนลักษณะอุปนิสัยระหว่างแรงงานต่างด้าวกับแรงงานไทยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างของผู้ประกอบการ (4) ปัญหาอุปสรรคในการจ้างแรงงานต่างด้าวการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ประกอบการที่จ้างแรงงานต่างด้าวในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 1,473 น การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีของ ทาโร ยามาเน่ ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 380 คน โดยการใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ร้อยละ ก่เฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษา พบว่า (1) ลักษณะผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการที่จ้างแรงงานต่างด้าวกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีจำนวน 228 น คิดเป็นร้อยละ 60 ตำแหน่งของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คือ เจ้าของกิจการ มีจำนวน 238 น คิดเป็นร้อยละ 62.63 ประเภทกิจการนอกภาคเกษตรกรรมมีจำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 57.89 สถานประกอบการตั้งอยู่พื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จำนวน 161 คน คิดเป็นร้อยละ 42.37 จำนวนลูกจ้างในสถานประกอบการ 1 -20 วัน จำนวน 286 น คิดเป็นร้อยละ75.27 (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างแรงงานต่างด้าว พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการจ้างแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการในจังห วัดสมุทรปราการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ก่าเฉลี่ย 3.53ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57 เมื่อพิจารณาในรายประเด็น พบว่า การขาดแคลนแรงงานไทยมีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านพฤติกรรม ด้านต้นทุน ด้านลักษณะงานและด้านมนุษยธรรม(3) เปรียบเทียบปัจจัยด้านลักษณะอุปนิสัยระหว่างแรงงานต่งด้าวกับแรงงานไทยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างของผู้ประกอบการ พบว่า ความแตกต่างของปัจจัยนลักษณะอุปนิสัยระหว่างแรงงานต่างด้าวกับแรงงานไทย ไม่มีผลต่อการตัดสินใจจ้างของผู้ประกอบการ (1) ปัญหาอุปสรรคในการจ้างแรงงานต่างด้วพบว่า การขาดแคลนแรงงานค่างด้าวถูกกฎหมาย ภามาที่ใช้ในการสื่อสาร และการถูกรบกวนจากเจ้าหน้าที่ของรัฐth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectแรงงานต่างด้าว--การจ้างงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการจ้างแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting foreign labor employment by employers in Samut Prakarn Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were. (1) Style entrepreneurs who hire migrant workers in Samut Prakan province. (2) The key factors affecting the decision to hire foreign workers. (3) Compare the character of the migrant workers in Thailand affected hiring decisions of households. (4) Barriers to employment of foreign workers This study was a survey research. The population was Entrepreneurs who hire migrant workers in Samut Prakan province to determine the sample size of 7,473 people by means of Taro Yamane has a sample size of 380 by means of simple random sampling. Tools used in research questionnaires, data analysis, percentage, average and standard deviation. The result of the study found that: (1) The entrepreneurs who hire migrant workers in Samut Prakan province. Most of the respondents were male, with a total of 228 people, representing 60 percent of the positions of the majority is. Owner amounted to 238 people, representing 62.63 percent of business outside the agricultural sector amounted to 220 people, representing 57.89 percent of enterprises located in Muang Samut 161 people, representing 42.37 per cent of employees in the workplace 1. 20 people, 286 people, representing 75.27 per cent. (2) the relative importance of the factors affecting the decision to hire foreign workers found that the factors affecting the employment of migrant households in Samut Prakan province. The overall level of the average standard deviation 3.53 0.57 In considering issues that are critical labor shortage Thailand. First, followed by the behavioral characteristics and humanitarian costs. (3) Comparison between the character of migrant workers to Thailand that affect hiring decisions of households found that the difference in character between the factors of migrant workers to Thailand. Has resulted in the hiring decisions of households. (4) difficulties in hiring foreign workers was a shortage of labor legislation. The language used to communicate and interference from the authoritiesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153230.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons