Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9588
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อการจ้างแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการ
Other Titles: Factors affecting foreign labor employment by employers in Samut Prakarn Province
Authors: สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษา
ภูณิชา กุญช์วิชญาดา, 2510-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
แรงงานต่างด้าว--การจ้างงาน
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
Issue Date: 2558
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการที่จ้างแรงงานต่างด้าว (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างแรงงานต่างด้าว(3) เปรียบเทียบปัจจัยนลักษณะอุปนิสัยระหว่างแรงงานต่างด้าวกับแรงงานไทยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างของผู้ประกอบการ (4) ปัญหาอุปสรรคในการจ้างแรงงานต่างด้าวการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ศึกษาคือ ผู้ประกอบการที่จ้างแรงงานต่างด้าวในจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 1,473 น การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีของ ทาโร ยามาเน่ ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 380 คน โดยการใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ร้อยละ ก่เฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษา พบว่า (1) ลักษณะผู้ประกอบการในจังหวัดสมุทรปราการที่จ้างแรงงานต่างด้าวกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีจำนวน 228 น คิดเป็นร้อยละ 60 ตำแหน่งของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คือ เจ้าของกิจการ มีจำนวน 238 น คิดเป็นร้อยละ 62.63 ประเภทกิจการนอกภาคเกษตรกรรมมีจำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 57.89 สถานประกอบการตั้งอยู่พื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จำนวน 161 คน คิดเป็นร้อยละ 42.37 จำนวนลูกจ้างในสถานประกอบการ 1 -20 วัน จำนวน 286 น คิดเป็นร้อยละ75.27 (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างแรงงานต่างด้าว พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการจ้างแรงงานต่างด้าวของผู้ประกอบการในจังห วัดสมุทรปราการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ก่าเฉลี่ย 3.53ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57 เมื่อพิจารณาในรายประเด็น พบว่า การขาดแคลนแรงงานไทยมีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านพฤติกรรม ด้านต้นทุน ด้านลักษณะงานและด้านมนุษยธรรม(3) เปรียบเทียบปัจจัยด้านลักษณะอุปนิสัยระหว่างแรงงานต่งด้าวกับแรงงานไทยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจจ้างของผู้ประกอบการ พบว่า ความแตกต่างของปัจจัยนลักษณะอุปนิสัยระหว่างแรงงานต่างด้าวกับแรงงานไทย ไม่มีผลต่อการตัดสินใจจ้างของผู้ประกอบการ (1) ปัญหาอุปสรรคในการจ้างแรงงานต่างด้วพบว่า การขาดแคลนแรงงานค่างด้าวถูกกฎหมาย ภามาที่ใช้ในการสื่อสาร และการถูกรบกวนจากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9588
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153230.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons