Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9592
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกิตติภพ สุจำนงค์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T03:55:51Z-
dc.date.available2023-09-18T03:55:51Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9592-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของนายทหาร ประทวน กองเรือทุ่นระเบิด (2) เปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวน กองเรือทุ่นระเบิด จําแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลและพื้นที่ปฏิบัติงาน (3) เสนอแนะแนวทาง สร้างเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวน กองเรือทุ่นระเบิด ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นายทหารชั้นประทวนในกองเรือทุ่นระเบิด กองทัพเรือ ที่ปฏิบัติงานในกองเรือทุ่นระเบิด จํานวน 294 นาย กลุ่มตัวอย่าง 170 นาย คํานวณ จากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาเป็นผู้สร้างขึ้น ในการศึกษาครั้งนี้ สถิติที่นํามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การเปรียบเทียบพหุคูณด้วยวิธีผลต่าง นัยสําคัญตํ่าสุด ผลการศึกษา พบว่า (1) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของนายทหารชั้นประทวนกองเรือ ทุ่นระเบิด ในภาพรวมอยู่ระดับมาก โดยด้านความความสัมพันธ์เพื่อนรวมงานมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ ด้านโอกาสความกาวหน้า มีค่าเฉลี่ยตํ่าที่สุด (2) ผลการเปรียบเทียบแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน จําแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า นายทหารประทวนที่ มีชั้นยศและระดับการศึกษาแตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 เมื่อจําแนกตามพื้นที่ปฎิบัติงาน ไม่พบความแตกต่างระหว่างแรงจูงใจของผู้ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะในการ เสริมสร้างแรงจูงในการปฏิบัติงานของนายทหารชั้นประทวนกองเรือทุ่นระเบิด ได้แก่ควรพิจารณา ปรับเพิ่มค่าตอบแทนปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบขององค์กรเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้คล่องตัวมากขึ้น รวมทั้งพิจารณาจัดระบบการให้รางวัลเพื่อการจูงใจ และส่งเสริมการทํางานร่วมกันในลักษณะทีมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกองทัพเรือ. กองเรือทุ่นระเบิด --ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของนายทหารประทวนกองเรือทุ่นระเบิด กองทัพเรือth_TH
dc.title.alternativeWork motivation of noncommissioned officers of mine squadron, Royal Thai Navyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aims to: (1) examine work motivation of noncommissioned officers of Mine Squadron, Royal Thai Navy; (2) compare work motivation of noncommissioned officers of Mine Squadron classified by personal factors and working units; and (3) recommend appropriate approaches to enhance work motivation of noncommissioned officers of Mine Squadron, Royal Thai navy. Population included 294 noncommissioned officers of Mine Squadron, Royal Thai Navy, from which 170 samples were obtained via Taro Yamane calculation. Accidental random sampling was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test , F- test and LSD. The results showed that: (1) work motivation of noncommissioned officers of Mine Squadron, Royal Thai Navy, in the overall view, was at high level, with relationships with peers the highest mean, while advancement opportunities the lowest; (2) when compared the motivation by personal factors, differences were found among motivation of noncommissioned officers with different ranks and different education levels at 0.05 level of statistical significance, while no differences were found among motivation of those working in different units; and (3) major recommendations were: the organization should consider increasing the compensation of noncommissioned officers, revise rules and regulations to facilitate everyday operation, reward system should be improved, moreover, working in team should as well be encourageden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145917.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons