Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทองth_TH
dc.contributor.authorทรงเกียรติ อภิชัย, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T04:05:01Z-
dc.date.available2023-09-18T04:05:01Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9595en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความตั้งใจในการซื้อซํ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เกรดอุตสาหกรรม (2) ศึกษาพฤติกรรมการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์เกรดอุตสาหกรรม (3)หาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปกับความตั้งใจซื้อซํ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เกรดอุตสาหกรรม (4) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการซื้อกับความตั้งใจซื้อซํ้าเครื่องคอมพิวเตอร์เกรด อุตสาหกรรม และ (5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดกับความตั้งใจซื้อซํ้า เครื่องคอมพิวเตอร์เกรดอุตสาหกรรม ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ลูกค้าที่เคยซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์เกรดอุตสาหกรรม ของบริษัท ดับบลิวเจเทคโนโลยี จำกัด จำนวน 285 ราย ขนาดตัวอย่างคำนวณจากสูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ได้ 167 ราย ใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าไคสแควร์และค่าสัมประสิทธสหสัมพันธ์ ของ!พียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นต่อความตั้งใจซื้อซํ้าเครื่องคอมพิวเตอร์!กรด อุตสาหกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) พฤติกรรมการซื้อพบว่า ส่วนใหญ่ซื้อใช้กับโครงการใหม่ ข้อมูลผลิตภัณฑ์ไต้จากพนักงานขายซื้อเพราะการให้บริการหลังการขายดีกว่าผู้ขายรายอื่นผู้ที่มีอิทธิพล ต่อการตัดสินใจซื้อคือ ผู้ใช้งาน ปริมาณซื้อคือ 9-12 ครั้งต่อปี และซื้อจำนวน 2-3 เครื่องต่อครั้ง (3) ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั่วไปและความตั้งใจซื้อซํ้าไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กัน (4) ความ สัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการซื้อและความตั้งใจซื้อซํ้าไม่พบว่ามีความสัมพันธ์เช่นเดียวกัน และ (5)ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมการตลาดและความตั้งใจซื้อซํ้าโดยรวมมีความสัมพันธ์ เชิงบวกโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และพบว่าทุกปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์ ยกเว้นปัจจัยด้านการจัดจำหน่ายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัท ดับบลิวเจเทคโนโลยีth_TH
dc.subjectการตัดสินใจth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การจัดซื้อth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจซื้อซ้ำเครื่องคอมพิวเตอร์เกรดอุตสาหกรรมของบริษัท ดับบลิวเจเทคโนโลยี จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors relating the intention to repurchase industrial computer of W.J. Technology Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were:(1) to examine the intention to repurchase industrial computers; (2) to study the buying behavior of customers on industrial computer; (3) to analyze the relationship between customer profile and the intention to repurchase; (4) to investigate the relationship between buying behavior and the intention to repurchase; and (5) to explore the relationship between marketing mix and the intention to repurchase. The number of population was customers who had bought industrial computers from the W.J. Technology Company during May 2016-June 2016, approximately 285 enterprises. The sample selected by purposive sampling method consisted of 167 respondents. Survey questionnaires were used as an instrument to collect data. Data were analyze by descriptive statistics including frequency, percentage, standard deviation, and inferential statistics including Chi-Square and Pearson correlation. The result showed that: (1) overall of the intentions to repurchase of industrial computer were at the high level; (2) in terms of purchasing behavior, it was found that most customers selected to buy industrial computers for their new projects, be impressed with the sale person‘s service. In addition, computers’ users were persons who made a decision to buy products, and most bought 9-12 times per year, with 2-3 sets in each time. (3) There was no statistically significant relationship between customer profile and the intention to repurchase.(4)Also, there was no statistically significant relationship between buying behavior and the intention to repurchase. (5) However, it was found that a statistically significant positive relationship between marketing mix factors and intention to repurchase at 0.05 level, especially marketing mix factors of product, price, promotion, process, people, and physical evidence.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
150243.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons