Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9596
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจมาศ พรมมา, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-18T04:18:22Z-
dc.date.available2023-09-18T04:18:22Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9596en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการปกครองจังหวัดชัยนาท (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรกรมการปกครองจังหวัดชัยนาท จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคล และ (3) เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรกรมการปกครองจังหวัดชัยนาทการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ บุคลากรสังกัดกรมการปกครองที่ปฏิบัติงานในจังหวัดชัยนาท โดยศึกษาจากประชากรจำนวนทั้งสิ้น 99 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรมการปกครองจังหวัดชัยนาท ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความเกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อสังคม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน และด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (2) บุคลากรกรมการปกครองจังหวัดชัยนาท ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้าน อายุ อายุงาน ณ ที่ทำการแห่งนี้และสถานที่ทำงานแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนบุคลากรที่มีปัจจัยส่วนบุคคลด้าน เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน และประเภทตำแหน่ง แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน และ (3) ข้อเสนอแนะ พบว่า ควรมีการผลักดันนโยบายด้านสวัสดิการและค่าตอบแทนให้เหมาะกับค่าครองชีพในปัจจุบัน และควรเปิดโอกาสให้บุคลากรในสังกัดได้ปรับเข้าสู่ตำแหน่งตามสายงานในระดับที่สูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectข้าราชการฝ่ายปกครองth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการกรมการปกครองจังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeQuality of working life of personnel of the Department of Provincial Administration in Chainat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study quality level of working life of personnel of the Department of Provincial Administration in Chainat Province; (2) to compare quality of working life of personnel of the Department of Provincial Administration in Chainat Province classified by personal factors; and (3) to recommend approaches in developing quality of personnel working of the Department of Provincial Administration in Chainat Province. This study was a survey research. Population was the Department of Provincial Administration 99 officers working in Chainat Province. Research tool was a questionnaire. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-Test, F-Test, and One Way ANOVA. The results revealed that: (1) an overview of quality of personnel working life of the Department of Provincial Administration in Chainat Province was at high level. Considered each aspect, it was found that relation and social advantage was at the highest level, followed by social integration or mutual collaboration, and adequate and fair payment was least average; (2) personnel of the Department of Provincial Administration in Chainat Province who were different in personal factors such as age, work period and workplace would be different in quality of working life at statistical significance level of 0.05. Personnel who were different in gender, marital status, educational background, salary and position, would not be different in quality of working life; and (3) Recommendations were to create appropriate policy on benefit and payment to suit the current cost of living and give opportunities for personnel to get higher promotionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_147749.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons