Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/961
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | น้ำทิพย์ วิภาวิน | th_TH |
dc.contributor.author | สมบัติ แสงเพ็ชร์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-23T08:08:41Z | - |
dc.date.available | 2022-08-23T08:08:41Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/961 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรู้ทันตสุขภาพ พฤติกรรมทันตสุขภาพ และสภาวะทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมสารสนเทศการดูแลสุขภาพช่องปาก 2) ศึกษาความสัมพันธ์ของความรู้ทันตสุขภาพ กับพฤติกรรมทันตสุขภาพ และสภาวะทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการที่คลินิกทันตกรรม โรงพยาบาลประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการตรวจสุขภาพช่องปากที่คลินิกทันตกรรม โรงพยาบาลประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 260 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่ายโดยเลือกหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการตรวจสุขภาพช่องปากที่คลินิกทันตกรรม โรงพยาบาลประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี มีอายุระหว่าง 15 -24 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และได้รับการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อโรคฟันผุ และโรคปริทันต์ ซึ่งได้ค่าความเสี่ยงสูงต่อโรคฟันผุ และโรคปริทันต์ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบ แบบสอบถาม และแบบบันทึกประสิทธิภาพการแปรงฟัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์ และนำเสนอด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานด้วยค่าสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) หญิงตั้งครรภ์หลังได้รับโปรแกรมสารสนเทศการดูแลสุขภาพช่องปากมีความ รู้ทันตสุขภาพ พฤติกรรมทันตสุขภาพ และสภาวะทันตสุขภาพดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมสารสนเทศการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความรู้ทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์หลังได้รับโปรแกรมสารสนเทศการดูแลสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับพฤติกรรมทันตสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความรู้ทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์หลังได้รับโปรแกรมสารสนเทศการดูแลสุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับสภาวะทันตสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.75 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศทางการพยาบาล | th_TH |
dc.subject | ทันตานามัย | th_TH |
dc.subject | สตรีมีครรภ์--การดูแล | th_TH |
dc.title | ผลการได้รับโปรแกรมสารสนเทศการดูแลสุขภาพช่องปากที่มีต่อความรู้พฤติกรรม และสภาวะทันตสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่คลินิกทันตกรรม โรงพยาบาลประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Results of the program of oral health care information on the knowledge, behavior and oral health of pregnant women at the dental clinic of Prachantakham Hospital in Prachantakham Hospital in Prachin Buri province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2010.75 | - |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศิลปศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to compare knowledge on dental health, oral health care behavior, and oral health status of pregnant women before and after receiving knowledge from the program on oral health care; and 2) to examine the relationship between dental health knowledge and oral health care behavior, and oral health status of pregnant women who received dental services at Prachantakham hospital, Prachin Buri province. This study employed the experimental research method. The samples consisted of 260 pregnant women who received oral health services at the dental clinic of Prachantakham Hospital inPrachin Buri Province. Sampling was carried out by simple drawing, by selecting 20 pregnant women who were between 15-24 year-of-age, high-school graduated, and had been screened and classified as having a high-risk of dental caries and periodontal disease. They also received oral health services at dental clinic of Prachantakham Hospital in Prachin Buri Province. The research instruments were tests, questionnaires, and teeth brushing efficiency records. The information was analyzed using computer programs and presented in percentage, means, standard deviation, and t-test dependent. Research findings were as follows: 1) after receiving the information on oral health care, pregnant women had more knowledge on oral health, oral health behavior and better oral health at a statistical significance level .05 2) oral health knowledge of pregnant women after the oral health care information program was medium-positive correlated with oral health care behavior at a statistical significance level .05 3) oral health knowledge of pregnant women after the program on oral health care information was medium positive correlated with oral health status at a statistical significance level .05 | en_US |
dc.contributor.coadvisor | พวา พันธุ์เมฆา | th_TH |
Appears in Collections: | Arts-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext (14).pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 18.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License