Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ศิลปอาชา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรานี สายกองคำ, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-19T03:49:48Z-
dc.date.available2023-09-19T03:49:48Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9625-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 (2) ศึกษาระดับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 (3) เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 จำนวนทั้งสิ้น 169 คน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 119 คนใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นกูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันโดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากลำดับแรกคือด้านการฝึกอบรม รองลงมาคือ ด้านความรู้เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และอยู่ในระดับปานกลางคือ ด้านโอกาสความก้าวหน้า และด้านสวัสดิการ/ค่าตอบแทนตามลำดับ (2) บุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 มีระดับผลการปฏิบัติงาน โดยรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับดี ลำดับแรกคือ ด้านประสิทธิภาพ รองลงมาคือ ด้านคุณภาพของงาน ด้านการตอบสนองความต้องการ ของผู้รับบริการ และด้านนวัตกรรม ตามลำดับ (3) บุคลากรสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และฝ่ายส่วนงานที่สังกัดแตกต่างกันมีผลการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ 0.5 แต่บุคลากรที่มีเพศ สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และอายุงานในสำนักงานสรรพากรพื้นที่เชียงใหม่ 2 แตกต่างกับมีผลการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน และ (1) ปัจจัยจุงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร โคยร วม มีความสัมพัน ธ์เชิงบวกกับผลการปฏิบัติงานของบุคลากรระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0 1 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัจจัยจูงใจในการปฏิบัติงานสัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงานในด้านคุณภาพ ด้านประสิทธิภาพ ด้านนวัตกรรม และด้านการตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.0 1 โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวกในทิศทางเดียวกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานสรรพยากรพื้นที่เชียงใหม่ 2th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานสรรพยากรพื้นที่เชียงใหม่ 2th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting employee performance at Chiangmai Area Revenue Office 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the level of the motivation factors of employees at Area Revenue Office, Chiang Mai 2; (2) to study the level of employees performance at Area Revenue Office, Chiang Mai 2; (3) to compare employees performance at Area Revenue Office, Chiang Mai 2 classified by personal factors; and (4) to study the relationship between motivation factors and employees performance at Area Revenue Office, Chiang Mai 2. The total population was 169 employees at Area Revenue Office, Chiang Mai 2. The samples were 119 employees by using a stratified sampling. The data was collected by using questionnaires and was analyzed by using percentage, mean, standard deviation, t-Test, one-way ANOVA, Pearson Correlation Coefficient at the statistical significance 0.05. The results showed that (1) overall the level of the motivation factors of employees at Area Revenue Office, Chiang Mai 2 was high with training, working knowledge, working environment and working satisfaction while achievement opportunity and welfare were moderate respectively; (2) overall the level of employees performance at Area Revenue Office, Chiang Mai 2 was high with efficiency, quality, service and innovation respectively; (3) employees at Area Revenue Office, Chiang Mai 2 with different age, educational background and department had different performance at the statistical significance 0.05, whereas employees with different gender, marital status, income and working experience had no difference in performance; and (4) overall the relationship between motivation factors and employees performance at Area Revenue Office, Chiang Mai 2 was positive and moderate at the statistical significance 0.01. Considering for each aspects, it was found that motivation factors related to employees performance in terms of quality, efficiency, innovation and service positively at the statistical significance 0.01.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148530.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons