Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรีดาภรณ์ สร้อยสนธิ์, 2528-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-19T03:56:55Z-
dc.date.available2023-09-19T03:56:55Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9626en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท วาย.วี.พี.เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด (2) ศึกษาความสัมพันธ์คุณลักษณะส่วนบุคคล และลักษณะการบริหารงาน กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท วาย.วี.พี่. เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด (3) เสนอแนะแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทวาย.วี.พี. เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัท วาย.วี.พี. เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด ทุกหน่วยงาน จำนวน 185 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรของทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่ม ตัวอย่างจำนวน 127 คน ครื่องมือที่ใช้ในการรวบรามข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ซื้อมูลโดย หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท วาย.วี.พี. เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (2) ลักษณะบุคคลด้านอายุที่ต่างกัน มีความสัมพันธ์ กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01และลักษณะการบริหารงานค้านด่างๆ มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทวาย.วี.พี.เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ความสัมพันธ์ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ คือ การสนับสนุนการมีส่วนร่วมและตัดสินใจของพนักงาน การจัดอบรมพนักงาน การพัฒนากระบวนการผลิต และการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ การปรับค่าตอบแทนและสวัสดิการ การปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงาน การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการปรับปรุงอารมณ์ วิสัทัศน์ และมุมมองในการทำงานของพนักงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทวาย.วี.พี. เฟอร์ติไลเซอร์--พนักงานth_TH
dc.titleประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท วาย.วี.พี. เฟอร์ติไลเซอร์ จำกัดth_TH
dc.title.alternativePerformance efficiency of employee Y.V.P. Fertilizer Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study were (1) to determine the level of Performance Efficiency of Employee Y.V.P. Fertilizer Company Limited. (2) to study the relationship personalization features and management style of Performance Efficiency of Employee Y.V.P. Fertilizer Company Limited. (3) to suggest enhancing of Performance Efficiency of Employee Y.V.P. Fertilizer Company Limited. The population in this study were 185 Y.V.P. Fertilizer Company Limited and 127 samples were randomized by Taro Yamene. The study tool was a questionnaire. Data were analyzed for frequency, percentage, average, standard deviation. One-way analysis of variance, correlation analysis. The results showed that (1) Operational efficiency of employees at Y.V.P. Fertilizer Company Limited reached high level. (2) Individual characteristics of different ages correlated with the performance of employees at .01 statistically significant level. The managerial skills correlated with the performance of employees Y.V.P. Fertilizer Company Limited at .01 statistically significant level. The overall relationship is moderate and correlated in the same direction. (3) Recommended practices to improve performance is to encourage participation and decisions for employees, training staff, process development and the use of technology. The compensation and benefits, improving operations processing, the Information Technology systems development and the attitude towards employeesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_146421.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons