Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9636
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพักตร์อัมพรรณ ตั้งวศินธรรม, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-19T08:08:57Z-
dc.date.available2023-09-19T08:08:57Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9636en_US
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสุขในการทำงานของบุคลากรในกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (2) ศึกษาระดับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม (3) เปรียบเทียบระดับความสุขในการทำงานและสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกรมส่งสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสุขในการทำงานกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม จำนวน 261 คน โดยใช้ตรางการสุ่มของทาโร่ ยามาน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 160 คน เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ทดสอบความแตกต่างราย โดยวิธีเซฟเฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า (1) ความสุขในการทำงานของบุคลากรอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.96) เมื่อพิจารณารายข้อพบว่ ความสุขในการทำงานของบุคลากรส่วนใหญ่ คือ มีครอบครัวที่อบอุ่นและมั่นคงอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 434) รองลงมา คือ มีความรักสามัคดีเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่มีสังคมและสภาพแวดล้อมที่ดี (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ4.29) (2) สมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด (ก่าเกลี่ยเท่ากับ 4.26 พิจารณารายข้อพบว่าสมรรถนะในการปฏิบัติงานส่วนใหญ่ คือ มีการยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม และจริยธรรม (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.43รองลงมา คือ การทำงานเป็นทีม (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 436 (3)บุคลากรระดับการศึกยาที่แตกต่างกันมีความสุขในการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 005 โดยบุคลากรที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 422) มีความสุขในการทำงานมากกว่าบุคลากรที่มี ระดับการศึกษาปริญญาตรี หรือเทียบเท่า (ค่าเฉลี่ยเท่ ากับ 3.8) ส่วนบุคลากรที่มี เพศ อายุ สถานภาพสมรส ประเกทการจ้างงาน และประสบการณ์ การทำงานที่แดกต่างกันมีความสุขในการทำงานไม่แตกต่ างกัน และ (1) ความสุขในการทำงานมีความสัมพันธ์กันทางบวกกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectความสุขth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectสมรรถภาพในการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างความสุขในการทำงานกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมth_TH
dc.title.alternativeCorrelation between workplace happiness and job competency of personnel at Department of Industrial Promotion, Ministry of Industryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were as the following: (1) to study the level of workplace happiness of personnel at Department of Industrial Promotion in Ministry of Industry, (2) to study the level of job competency of personnel at Department of Industrial Promotion in Ministry of Industry; (3) to compare the difference of the personal factors with workplace happiness and job competency of personnel at Department of Industrial Promotion in Ministry of Industry; and (4) correlation between workplace happiness and job competency of personnel at Department of Industrial Promotion in Ministry of Industry. The population were 261 of personnel at Department of Industrial Promotion in Ministry of Industry, 160 samples selected by Taro Yamane’s sampling table. The data were collected by using questionnaires and analyzed by computer package program. The statistical were Percentage, Mean, Standard Deviation, t-Test, F-test (One-way Analysis of Variance), Scheffé and Pearson Product Moment Correlation coefficient. The level of Significance was set at 0.05. The results of this study revealed that: (1) the level of workplace happiness was high class (Mean value is 3.96), considering by item analysis revealed that the level of workplace happiness was the highest class in the part of happy family (Mean value is 4.34), happy society (Mean value is 4.29) and the level of job competency was the highest class (Mean value is 4.26); (2) considering by item analysis revealed that the level of job competency was the highest class in the part of integrity (Mean value is 4.43) and team work (Mean value is 4.36); (3) the difference of the level of education has an equal not assumed with the level of workplace happiness was at a statistical level of 0.05, explained that the participants with higher Bachelor’s degree (Mean value is 4.22) have the level of workplace happiness more than the participants with Bachelor’s degree (Mean value is 3.89). Other factors, gender, age, status, type of workforce and the working experience have not different; and (4) workplace happiness was positive correlated to job competency of personnel at Department of Industrial Promotion in Ministry of Industry at a statistical significantly level of 0.01en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_147754.pdfเอกสารฉบับเต็ม13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons