Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทราพรรณ์ บุบผานนท์, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T02:43:41Z-
dc.date.available2023-09-21T02:43:41Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9648en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับทัศนคติต่อการประหขัดพลังงานของพนักงานบริษัท หลัก ชัยก้าสุรา จำกัด (2) ปัจจัยจูงใจในการประหยัดพลังงานของพนักงานบริษัท หลักชัยค้าสุรา จำกัด (3) เปรียบเทียบระดับทัศนคติการประหยัดพลังงนของพนักงนบริษัท หลักชัยค้าสุรา จำกัด จำแนกตามลักยณะส่วนบุคคล (4) เปรียบเทียบปัจจัยจูงใจการประหยัดพลังงานของพนักงานบริษัท หลักชัยค้าสุรา จำกัด จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ หัวหน้งานและพนักงานระดับปฏิบัติการ ของบริษัท หลักชับค้าสุรา จำกัด จังหวัดราชบุรี ทั้งหมด 184 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา จำนวน 126 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ที่ระดับความคลาดเคลื่อน 0.05 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ก่ความถี่ ค่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การแจกแจงแบบทีและการแจกแจงแบบเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) พนักงานบริษัท หลักชัยค้าสุรา จำกัด มีทัศนคติต่อการประหยัดพลังงานอยู่ในระดับดีเรียงตามคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้แก่ ทัศนคติด้านความคิด ทัศนคติด้านแนวโน้มการกระทำ และทัศนคติด้านความรู้สึก (2) พนักงานบริษัท หลักชัยค้าสุรา จำกัด มีปัจจัยจูงใจในการประหยัดพลังงานอยู่ในระดับสูง เรียงตามคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้แก่ ปัจจัยจูงใจด้านลักษณะงานที่ทำ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านความรับผิดชอบค้านความก้าวหน้า และด้านการยอมรับนับถือ (3) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ อายุงานในบริษัท ระดับงานในบริษัทและส่วนงานที่สังกัดในบริษัทที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่ราชละเอียดแต่ละด้านพบว่า อายุที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติการประหขัดพลังงานในองค์ประกอบด้านแนวโน้มการกระทำที่แตกต่างกัน โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 20 - 23 ปี มีความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติด้านแนวโน้มการกระทำที่ต่ำกว่าช่วงอายุอื่นๆ และมีระดับทัศนคติด้านแนวโน้มการกระทำยู่ที่ระดับ ปานกลางในขณะที่ช่วงอายุอื่นๆ มีระดับทัศนคติด้านแนวโน้มการกระทำอยู่ที่ระดับสูง (4) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ อายุงานในบริษัท ระดับงานในบริษัท และส่วนงานที่สังกัดในบริษัทที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจัยจูงใจในการประหยัดพลังงานภาพรวมไม่แตกต่างกันแต่เมื่อพิจารณาเป็นรายค้าน พบว่า เพศต่างกันมีปัจจัยจูงใจด้านการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ และด้านความก้วหน้าแตกต่างกัน โดยพบว่า เพศหญิงมีปัจจัยจูงใจด้านการยอมรับนับถือและด้านความก้าวหน้าสูงกว่าเพศชาย ส่วนเพศชายมีปัจยจูงใจด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติสูงกว่าเพศหญิง และระดับงานในบริษัทที่ต่างกันมีความคิดเห็นกี่ยวกับปัจจัยจูงใจในการประหยัดพลังงานค้านความก้าวหน้าที่แตกต่างกัน โดยพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ระดับงานในบริษัทระดับ 3 - 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจัยจูงใจด้านความก้าวหน้าในการประหยัดพลังงานที่แตกต่างกับกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับงานในบริษัทเป็นระดับ 1 - 2 โดยระดับ 1 - 2 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปังจัยจูงใจด้านความก้าวหน้าอยู่ในระดับสูงแต่ ระดับ 3 - 4 มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัยจูงใจด้านความก้าวหน้าอยู่ในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectการประหยัดพลังงานth_TH
dc.titleทัศนคติและปัจจัยจูงใจในการประหยัดพลังงานของพนักงานบริษัท หลักชัยค้าสุรา จำกัดth_TH
dc.title.alternativeAttitude and motivation in saving energy of employees Luckchai liquor trading Co., Ltd.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the attitudes toward energy saving of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. employees; (2) to study the motives for energy saving of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. employees; (3) to compare the level of attitudes toward energy saving of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. employees by classifications; and (4) to compare the motives for energy saving of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. employees by classifications. This study was a survey research with a total of 184 employees in both head and operation level of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. in Ratchaburi Province as a population. The samples in this study were 126 employees at 0.05 level of significance. The research instrument was a questionnaire. The statistics used in analyzing were descriptive statistics: frequency, percentage, mean, and standard deviation, and inferential statistics: t-distribution and F-distribution. Results of the study showed that (1) employees of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. had an overall attitude in the fair level, with thinking attitude, acting attitude, and sentimental attitude, ranked by average score from high to low, respectively; (2) employees of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. had high motives for energy saving with job type as a factor with the highest score, followed by job succession, responsibility, career advancement, and respectability, in that order; (3) despite the difference in gender, age, tenure of work, job level, and job function, employees of Luckchai Liquor Trading Co., Ltd. had indifferent opinions regarding the overall attitude towards energy saving. But, for samples with differences in age, diverse opinions in action attitude towards energy saving can be observed. Samples in the 20-25 years age group had a fair action attitude score, lower than other age groups in which a high score on this attitude can be noticed; and (4) differences in gender, age, tenure of work, job level, and job function did not diverge the opinion of employees regarding the overall motive to save energy. But, differences in gender led to differences in the level of motives in three aspects; respectability, job type, and career advancement, with female possessed a higher score on respectability and career advancement motives than male. For male, the motive in job type aspect had a higher score than female. Job level also led to differences in the motives for energy saving, with those in job level 3-4 had different opinions regarding career advancement motive to those in job level 1-2. The samples in job level 1- 2 had high level of opinions regarding career advancement while job level 3-4 had a fair level of opinions to this same motiveen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_148804.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons