Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9658
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารยืที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมนฤทัย ประสพศิลป์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-09-21T03:15:29Z-
dc.date.available2023-09-21T03:15:29Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/9658en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ซีพีแรม จำกัด (2) ศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ซีพีแรม จำกัด (3) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ซีพี่แรม จำกัด จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ(4) ศึกษาแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทซีพีแรม จำกัด ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ พนักงานรายวันบริษัท ซีพีแรม จำกัด สำนักงานลาดกระบัง จำนวน 2,113 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยวิธีการคำนวณ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 336 คนซึ่งสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นและสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการราบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยพบว่า แรงจูงใจในปัจจัยจูงใจของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนแรงจูงใจในปัจ จัยค้ำจุนของพนักงานในภาพรวม อยู่ในระดับมาก (2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (3) พนักงานที่มีอายุและระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแดกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 แต่พนักงานที่มีเพศ สถานภาพการสมรส ระยะเวลาในการทำงานที่แตกต่างกันมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่แตกต่าง (4) แรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ความสัมพันธ์กับผู้ร่วมงานหรือผู้บังกับบัญชา ลักษณะของงานสภาพการทำงานนโยบายและการบริหารงานขององค์การ ใอกาสก้าวหน้า และความรับผิดชอบต่องานโดยร่วมกันทำนายการส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 40th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทซีพีแรม จำกัด--พนักงาน--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleแรงจูงใจที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ซีพีแรม จำกัดth_TH
dc.title.alternativeMotivation affecting employee performance at CPRAM Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were : (1) to study the level of performance motivation of employees at CPRAM Company Limited; (2) to study performance efficiency of employees at CPRAM Company Limited; (3) to compare performance efficiency of employees at CPRAM Company Limited by personal characteristics; and (4) to study motivation affecting performance efficiency of employees at CPRAM Company Limited. The population in this study were 2,113 CPRAM day paid employees at Lat Krabang office and 336 of them were computed using Taro Yamane Sample were randomized by stratified and simple random sampling. The study tool was research questionaire. Statistics employed to analyze data were percentage, mean, standard deviation, t- test ,one-way analysis of variance, Sheffe's method. and multiple regression analysis. The results showed that (1) the level of performance motivation of employees at CPRAM Company Limited by overall was at high level. Considering by factor, it was found that motivation factor was at moderate level while maintenance factor was at high level; (2) the overall performance efficiency of employees was at high level; (3) employees with different age and educational level had different performance efficiency at 0.05 statistically significant level while employees with different gender, marital status and work duration had no different performance efficiency; and (4) motivation that affected the performance efficiency of employees including relationships with co-workers or supervisors, type of work, working conditions, policy and administration of the organization, growth opportunities and work responsibility. These factors predicted the performance efficiency of 40%en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_146815.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons